• แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้ที่มีภาวะลองโควิด

  • Dietary recommendations for long COVID-19

  • วารสารวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร

  • Journal of Food Research and Product Development

  • ก.ค.-ธ.ค. 2566

  • 2821-9813

  • 2566

  • ณัฐวุฒิ ลายน้ำเงิน

  • ปีที่ 53 ฉบับที่ 2 หน้า 70-80

  • https://kuojs.lib.ku.ac.th/index.php/JFRPD/article/view/5515

  • ไทย

  • S30-โรคขาดสารอาหาร

  • S01-โภชนศาสตร์

  • Q04-องค์ประกอบอาหาร

  • ผู้บริโภค;พฤติกรรมผู้บริโภค;พฤติกรรมการบริโภค;การบริโภคอาหาร;พรีไบโอติก;โพรไบโอติก;บีทรูท;สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ;การเสริมสารอาหาร;โภชนเภสัช;กรดอะมิโน;คุณค่าทางโภชนาการ;ภาวะโภชนาการ;การป้องกันโรค;การเสริมภูมิคุ้มกัน;โรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019;โรคโควิด-19;ภาวะลองโควิด-19

  • Consumers;Consumer behaviour;Consumption behavior;Prebiotics;Probiotics;Bioactive compounds;Beetroot;Beta vulgaris;Essential amino acids;Nutrients;Nutritional status;Nutritive value;Immune system;Long COVID-19

  • การแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (โควิด-19) ทำให้พฤติกรรมของมนุษย์มีความเปลี่ยนแปลงและส่งผลกระทบต่อสุขภาพทั้งในระยะสั้นและระยะยาว เช่น การมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น นำไปสู่ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคอ้วนและความเสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ นอกจากนี้โควิด-19 สามารถส่งผลต่อภาวะโภชนาการโดยตรงผ่านการกระตุ้นให้เกิดภาวะอักเสบในร่างกาย การได้รับสารอาหารและประสิทธิภาพการดูดซึมสารอาหารลดลง ทำให้ระบบภูมิคุ้มกันบกพร่อง และเพิ่มความเสี่ยงของการติดเชื้อและความรุนแรงของโรคที่เพิ่มขึ้น ในผู้ที่หายจากการติดเชื้อโควิด-19 ก็ยังคงต้องติดตามอาการของตนเอง เนื่องจากอาจมีภาวะลองโควิด ซึ่งมักพบเจอร่วมกับการมีภาวะทุพโภชนาการ การสูญเสียมวลรวมของร่างกายยกเว้นส่วนไขมัน และมีภาวะการอักเสบแบบอ่อน (low grade inflammation) แฝงอยู่ในร่างกาย บทความนี้ชี้ให้เห็นถึงแนวทางการบริโภคอาหารที่มีสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ การเสริมสารอาหาร และการใช้โภชนเภสัชเพื่อช่วยต่อต้านภาวะลองโควิด

  • The COVID-19 affects lifestyle behavioral changes that can potentially impact health, both in the short and long term. For example, weight gain effect may increase the risk of obesity and cardiovascular diseases. Additionally, COVID-19 can directly affects nutrition by promoting inflammation, reducing nutrient intake, and absorption efficiency which can reduce the immune system and increase the risk of infection and severity of diseases. Even in those who have recovered from COVID-19, they still need to monitor their health as they may experience Long COVID, often accompanied by malnutrition, loss of body mass except fat, and underlying low grade inflammation. This article demonstrates many strategies for consuming bioactive substances, nutritional supplements, and the use of nutraceuticals to help counteract the effect of Long COVID.

  • [1] ณัฐวุฒิ ลายน้ำเงิน (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร ฝ่ายโภชนาการและสุขภาพ)

  • [1] Nuttawut Lainumngen (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Institute of Food Research and Product Development. Department of Nutrition and Health)

47 56

  Export

  ค้นเพิ่มเติม

ณัฐวุฒิ ลายน้ำเงิน. (2566). แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้ที่มีภาวะลองโควิด
           วารสารวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร, 53 (2) ,70-80


ณัฐวุฒิ ลายน้ำเงิน. "แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้ที่มีภาวะลองโควิด" วารสารวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร, 53,
           2566, 70-80.

ณัฐวุฒิ ลายน้ำเงิน. (2566). แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้ที่มีภาวะลองโควิด
           วารสารวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร, 53 (2) ,70-80