Creative Commons License
  • การบำบัดน้ำทิ้งและตะกอนเลนจากบ่อเพาะเลี้ยงปลาช่อน

  • Wastewater and sludge treatment from snake head fish farm

  • เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 43: สาขาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์

  • Proceedings of 43rd Kasetsart University Annual Conference: Engineering and Architecture

  • 43

  • สาขาวิศวกรรมศาสตร์

  • 2548

  • มงคล ดำรงค์ศรี
    ประทักษ์ ตาบทิพย์วรรณ
    อรพินท์ จินตสถาพร
    จุลวัฒน์ กิตติอัครสกุล

  • 974-537-639-6

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
    กระทรวงศึกษาธิการ
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
    สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 43

  • กรุงเทพฯ

  • 1-4 ก.พ. 2548

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 53-59

  • 476 หน้า

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • P10-ทรัพยากรน้ำ

  • M12-การเพาะเลี้ยง

  • บ่อปลา;Channa;การบำบัดน้ำเสีย;การให้อากาศ;พืชน้ำ;ประสิทธิภาพ

  • Fish ponds;Channa;Wastewater treatment;Aeration;Aquatic plants;Efficiency

  • บ่อเพาะเลี้ยงปลาช่อน;การบำบัดน้ำเสีย;ตะกอนเลน;ระบบบ่อเติมอากาศ;ระบบบึงประดิษฐ์;ผักบุ้ง;ผักกระเฉด;ระบบลานตากตะกอน;ประสิทธิภาพ

  • Snake head fish farm;Wastewater treatment;Sludge treatment;Aerated lagoon;Constructed wetland;Morning glory;Water mimosa;Efficacy

  • การศึกษานี้เป็นการศึกษาเพื่อหาประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสีย และตะกอนเลนจากฟาร์มเพาะเลี้ยงปลาช่อนโดยระบบบ่อเติมอากาศ ระบบบึงประดิษฐ์และระบบลานตากตะกอน โดยระบบบึงประดิษฐ์ใช้พืชในการศึกษา 2 ชนิดคือ ผักบุ้งและผักกระเฉด ที่ระยะเวลากักพักชลศาสตร์ 1-5 วันและภาระบรรทุกของแข็งของระบบลานตากตะกอน 0.05, 0.10 และ 0.20 ตร.ม./ลบ.ม. ผลการศึกษาพบว่าประสิทธิภาพการบำบัด BOD ของระบบบ่อเติมอากาศ อยู่ในช่วง 94-96 เปอร์เซ็นต์ บำบัด COD อยู่ในช่วง 74-76 เปอร์เซ็นต์ บำบัด TKN อยู่ในช่วง 94-95 เปอร์เซ็นต์ บำบัด TN อยู่ในช่วง 23-43 เปอร์เซ็นต์ และบำบัด TP อยู่ในช่วง 4-7 เปอร์เซ็นต์ ประสิทธิภาพการบำบัด BOD ของระบบบึงประดิษฐ์ชนิดผักบุ้ง อยู่ในช่วง 51-62 เปอร์เซ็นต์ บำบัด COD อยู่ในช่วง 57-62 เปอร์เซ็นต์ บำบัด TKN อยู่ในช่วง 32-64 เปอร์เซ็นต์ บำบัด TN อยู่ในช่วง 32-63 เปอร์เซ็นต์ และบำบัด TP อยู่ในช่วง 8-59 เปอร์เซ็นต์ ประสิทธิภาพการบำบัดของระบบบึงประดิษฐ์ชนิดผักกระเฉดพบว่ามีประสิทธิภาพต่ำ เนื่องจากผักกระเฉดไม่สามารถเจริญเติบโตได้ดีในสภาวะน้ำนิ่ง ส่วนประสิทธิภาพของระบบลานตากตะกอนพบว่า ที่ภาระบรรทุกของแข็ง 0.20 ลบ.ม./ตร.ม. มีประสิทธิภาพสูงสุด ระยะเวลาที่ใช้ในการตากให้ได้ 70 เปอร์เซ็นต์ TS เท่ากับ 9.79 วัน

  • Purpose of this study was to examine the efficiency of three systems, i.e aerated lagoon system, constructed wetland system and sand-drying-bed system that were used in the treatment of wastewater and sludge from snake-head fish farm. The result shown that in aerated lagoon system for hydraulic retention time (HRT) of 1-5 day, the removal efficiency of BOD was 94-96 percent, COD up to 74-76 percent, TKN up to 94-95 percent, TN up to 23-43 percent, and TP up to 4-7 percent. In the constructed wetland system for hydraulic retention time (HRT) of 1-5 day, two kinds of plants: water spinach and water mimosa were used, the result indicated that for water spinach, the removal rate of BOD was about 51-62 percent, COD about 57-62 percent, TKN about 32-64 percent, TN about 32-63 percent, and TP about 8-59 percent, however, when using water mimosa in the constructed wetland system, the removal efficiency was low because the vegetable was not suitable at stagnant water condition. The result of sand-drying-bed system at the solid loading rates of 0.05, 0.10, and 0.20 cubic m/square m, at the rate of 0.20 cubic m/square m gave the highest efficiency, of which the system could dry up the waste sludge up to 70 percent TS in 9.79 days.

  • [1] มงคล ดำรงค์ศรี (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม)
    [2] ประทักษ์ ตาบทิพย์วรรณ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะประมง ภาควิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ)
    [3] อรพินท์ จินตสถาพร (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะประมง ภาควิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ)
    [4] จุลวัฒน์ กิตติอัครสกุล (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม)

  • [1] Mongkol Damrongsri (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Engineering. Department of Environmental Engineering)
    [2] Prathak Tabthipwon (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Fisheries. Department of Aquaculture)
    [3] Orapint Jintasataporn (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Fisheries. Department of Aquaculture)
    [4] Junlawat Kittiacarasakul (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Engineering. Department of Environmental Engineering)

656 926

Export

  ค้นเพิ่มเติม

มงคล ดำรงค์ศรี และคนอื่นๆ. (2548). การบำบัดน้ำทิ้งและตะกอนเลนจากบ่อเพาะเลี้ยงปลาช่อน.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.


มงคล ดำรงค์ศรี และคนอื่นๆ. "การบำบัดน้ำทิ้งและตะกอนเลนจากบ่อเพาะเลี้ยงปลาช่อน".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
           2548.

มงคล ดำรงค์ศรี และคนอื่นๆ. (2548). การบำบัดน้ำทิ้งและตะกอนเลนจากบ่อเพาะเลี้ยงปลาช่อน.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.