Creative Commons License
  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
    กระทรวงศึกษาธิการ
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
    สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 52

  • กรุงเทพฯ

  • 4-7 ก.พ. 2557

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 438-443

  • 487 หน้า

  • ไทย

  • สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์

  • Q02-การแปรรูปอาหาร

  • C20-การส่งเสริม

  • กล้วย;กระบวนการผลิต;การถ่ายทอดเทคโนโลยี;การฝึกอบรม;เกษตรกร;การใช้;การติดตามผล

  • Bananas;Processing;Technology transfer;Training;Farmers;Uses;Monitoring

  • กล้วย;การแปรรูปกล้วย;การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต;การฝึกอบรม;เกษตรกร;การนำไปใช้ประโยชน์;รายได้;การติดตามผลการฝึกอบรม

  • Banana;Banana commercial production;Technology transfer;Training;SME;Farmer;Training follow-up

  • การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและการแปรรูปกล้วยเพื่อการค้า เพื่อศึกษาระดับความรู้เรื่องกล้วยทั้งก่อนและหลังของผู้เข้ารับการฝึกอบรมและติดตามผลการนำไปใช้ประโยชน์ กลุ่มเป้าหมายคือ เกษตรกรชาวสวนกล้วยและผู้ที่สนใจรวมทั้งสิ้น 124 ราย แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ (1) กลุ่มเกษตรกรที่ทำสวนกล้วย ผู้นำชุมชน และ (2) กลุ่มเกษตรกรและประชาชนทั่วไป พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การผลิตและการแปรรูปกล้วย ในระดับน้อยเกินกว่า 50 เปอร์เซ็นต์ ระดับปานกลาง 35 เปอร์เซ็นต์ ระดับมากไม่เกิน 10 เปอร์เซ็นต์ หลังการฝึกอบรม พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความพึงพอใจต่อความรู้ในหัวข้อต่างๆที่ได้รับในระดับ 70-80 เปอร์เซ็นต์ เป็นส่วนใหญ่ ติดตามผลหลังฝึกอบรมแล้ว 5 เดือน พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมกลุ่มที่ 1 ได้นำความรู้ที่ได้ไปพัฒนางานทางด้านกล้วยมากกว่า ในกลุ่มที่ 2 มีการนำไปใช้ประโยชน์แตกต่างกันดังนี้ ได้นำไปปฏิบัติเพื่อพัฒนาสวนกล้วยตามที่อบรม 71.43 เปอร์เซ็นต์ สวนกล้วยมีสภาพดีขึ้น นอกจากนี้ได้แนะนำต่อให้กับผู้อื่น 82.50 เปอร์เซ็นต์ ได้นำต้นกล้วยเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไปทดลองปลูก มีความพึงพอใจต่อการเจริญเติบโตของต้นกล้วย 92.86 เปอร์เซ็นต์ ด้านการแปรรูป ผู้เข้ารับการฝึกอบรม แปรรูปกล้วยไว้รับประทานในครอบครัว 45.83 เปอร์เซ็นต์ แปรรูปเพื่อหารายได้ 29.17 เปอร์เซ็นต์ ไม่ได้ทำการแปรรูปแต่แนะนำต่อให้ กับผู้อื่น 25.00 เปอร์เซ็นต์ เพื่อหารายได้นั้นพบว่า ทำรายได้ให้กับครอบครัวต่อเดือนเพิ่มมากขึ้น ในระดับ 500-1,000 บาท จำนวน 6 ราย ระดับ 1,000-2,000 บาท จำนวน 5 ราย และมากกว่า 2,000 บาท จำนวน 9 ราย

  • The training in banana commercial production and processing technologies to study participants' knowledge Pre-training and Post-training in banana, was conducted to banana farmers and interested ones. There were 124 participants divided into two groups as 1) current banana farmers or community leaders and 2) general farmers or ones interested in banana topics. It was found that more than 50 percent of the participants were less in the knowledge about banana production and processing while 35 percent of those moderate and less than 10 percent well in the background. Post-training questionnaire revealed that most participants were satisfied in all topics up to 70-80 percent. Five months after training, The participants applied the production technology to improve their orchards (as of 71.43 percent) and also transfered to others (82.5 percent). The ones taking the micro-propagated plantlets were satisfied in the banana growth and development up to 92.86 percent. For processing knowhow, the participants implemented into three uses as for their family use (48.53 percent), business use (29.17 percent) and transfer to others without own activity 25.00 percent. For the processing banana business, six participants could earn more income about 500-1,000 bahts/month, five participants did 1,000-2,000 bahts and nine participants did more than 2,000 bahts/month.

  • [1] กัลยาณี สุวิทวัส (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สถาบันอินทรีจันทรสถิตย์เพื่อการค้นคว้าและพัฒนาด้านพืชศาสตร์ สถานีวิจัยปากช่อง)
    [2] พินิจ กรินท์ธัญญกิจ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สถาบันอินทรีจันทรสถิตย์เพื่อการค้นคว้าและพัฒนาด้านพืชศาสตร์ สถานีวิจัยปากช่อง)
    [3] เรืองศักดิ์ กมขุนทด (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สถาบันอินทรีจันทรสถิตย์เพื่อการค้นคว้าและพัฒนาด้านพืชศาสตร์ สถานีวิจัยปากช่อง)
    [4] พิมพ์นิภา เพ็งช่าง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สถาบันอินทรีจันทรสถิตย์เพื่อการค้นคว้าและพัฒนาด้านพืชศาสตร์ สถานีวิจัยปากช่อง)
    [5] ขวัญหทัย ทนงจิตร (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สถาบันอินทรีจันทรสถิตย์เพื่อการค้นคว้าและพัฒนาด้านพืชศาสตร์ สถานีวิจัยปากช่อง)
    [6] ภาสันต์ ศารทูลทัต (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน คณะเกษตร กำแพงแสน ภาควิชาพืชสวน)

  • [1] Kunlayanee Suvittawat (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Inseechandrastitya Institute for Crops Research and Development. Pakchong Research Station)
    [2] Pinit Karintanyakit (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Inseechandrastitya Institute for Crops Research and Development. Pakchong Research Station)
    [3] Ruangsak Komkhuntod (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Inseechandrastitya Institute for Crops Research and Development. Pakchong Research Station)
    [4] Pimnipa Phengchang (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Inseechandrastitya Institute for Crops Research and Development. Pakchong Research Station)
    [5] Kwanhatai Tanongjid (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Inseechandrastitya Institute for Crops Research and Development. Pakchong Research Station)
    [6] Pason Saradhuldhat (Kasetsart University. Kamphaeng Saen Campus, Nakhon Pathom (Thailand). Faculty of Agriculture at Kamphaeng Saen. Department of Horticulture)

354 217

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

กัลยาณี สุวิทวัส และคนอื่นๆ. (2557). เทคโนโลยีการผลิตและการแปรรูปกล้วยเพื่อการค้า.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.


กัลยาณี สุวิทวัส และคนอื่นๆ. "เทคโนโลยีการผลิตและการแปรรูปกล้วยเพื่อการค้า".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
           2557.

กัลยาณี สุวิทวัส และคนอื่นๆ. (2557). เทคโนโลยีการผลิตและการแปรรูปกล้วยเพื่อการค้า.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.