Creative Commons License
  • กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนที่เหมาะสมในการจัดการลุ่มน้ำกอน จังหวัดน่าน

  • Appropriate community participation process on Kon watershed management, Nan province

  • เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 50: สาขาวิทยาศาสตร์, สาขาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

  • Proceedings of 50th Kasetsart University Annual Conference: Science, Natural Resources and Environment

  • 50

  • สาขาทรัพยากรธรรมชาติ

  • 2555

  • กิติชัย รัตนะ

  • 978-616-7522-97-5

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
    กระทรวงศึกษาธิการ
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
    สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 50

  • กรุงเทพฯ

  • 31 ม.ค.-2 ก.พ. 2555

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 357-365

  • 476 หน้า

  • ไทย

  • สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์

  • P10-ทรัพยากรน้ำ

  • P01-การอนุรักษ์ธรรมชาติ/ที่ดิน

  • E50-ชนบท

  • ลุ่มน้ำ;การจัดการลุ่มน้ำ;การมีส่วนร่วมของชุมชน;การใช้ที่ดิน;ชุมชน;ประเทศไทย

  • Watersheds;Watershed management;Community involvement;Land use;Communes;Thailand

  • การจัดการลุ่มน้ำ;การใช้ประโยชน์ที่ดิน;พื้นที่ลุ่มน้ำ;ชุมชน;การมีส่วนร่วม;ลุ่มน้ำกอน;จ.น่าน

  • Kon watersheds;Watershed management;Community involvement;Nan province

  • การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบกระบวนการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนที่เหมาะสมในการจัดการลุ่มน้ำเพื่อลดความขัดแย้งในการใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนท้องถิ่น ในพื้นที่ลุ่มน้ำกอน จังหวัดน่าน โดยประยุกต์ใช้การวิจัยเชิงปฎิบัติการแบบมีส่วนร่วม ในรูปของการจัดตั้งคณะทำงานวางแผนหลัก และการประชุมการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผลการวิจัย ชี้ให้เห็นว่า สภาพปัญหาที่สำคัญของลุ่มน้ำกอน คือ การใช้ประโยชน์ที่ดินไม่สอดคล้องกับศักยภาพของพื้นที่ ความเสื่อมโทรมของป่าไม้ การชะล้างพังทลายของดิน และเกิดความขัดแย้งในการใช้ประโยชน์ทรัพยากรลุ่มน้ำ ผลการประชุมการมีส่วนร่วม ได้กำหนดเขตการใช้ประโยชน์ที่ดินในลุ่มน้ำออกเป็น 2 เขตหลัก คือ เขตสงวนและคุ้มครอง คิดเป็นร้อยละ 72.89 และเขตการใช้ประโยชน์ ร้อยละ 27.11 ของพื้นที่ลุ่มน้ำทั้งหมด พร้อมทั้งกำหนดกรอบการจัดการลุ่มน้ำ ได้แก่ การฟื้นฟูป่าต้นน้ำ การทำแนวกันชนรอบป่า การเฝ้าระวังไฟป่า การฟื้นฟูแหล่งน้ำ และการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสม ทั้งนี้ กระบวนการมีส่วนร่วมที่เหมาะสมต้องคำนึงถึง บทบาทของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การนำสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ และการดำเนินงานให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจสังคม

  • Research objective is to design an appropriated community participation process on watershed management for reduce conflicts in natural resources utilization of local community at Kon watershed, Nan province. Participatory Action Research (PAR) was applied in this form the Core Planning Team (CPT) and to arrange participatory workshop with stakeholders. The results show that the major problems at Kon watershed are unsuitable land use, forest degradation, soil erosion, and conflict on watershed resources utilization. The result of participatory workshop devided land use zoning into two zones, the preservation and protection zone approximately 72.89 percent, and the utilization zone approximately 27.11 percent of total watershed area. The stakeholders also determined management guidelines, i.e. forest rehabilitation, buffer zone management, forest fire surveillance, reservoir rehabilitation, and suitable agricultural extension. An appropriated participatory process should consider the roles of stakeholders, decision making on GIS based, and operation process which suitable to the local socio-economic.

  • [1] กิติชัย รัตนะ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะวนศาสตร์ ภาควิชาอนุรักษวิทยา)

  • [1] Kitichai Rattana (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Forestry. Department of Conservation)

145 83

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

กิติชัย รัตนะ. (2555). กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนที่เหมาะสมในการจัดการลุ่มน้ำกอน จังหวัดน่าน.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.


กิติชัย รัตนะ. "กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนที่เหมาะสมในการจัดการลุ่มน้ำกอน จังหวัดน่าน".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
           2555.

กิติชัย รัตนะ. (2555). กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนที่เหมาะสมในการจัดการลุ่มน้ำกอน จังหวัดน่าน.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.