Creative Commons License
  • ผลของอุตุนิยมวิทยาที่มีต่อความเข้มข้นของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมโครเมตร ตามแนวระดับความสูง พื้นที่ศึกษากรุงเทพมหานคร

  • Effect of meteorological parameters on PM sub(10) vertical profile of concentration in Bangkok

  • เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 47: สาขาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

  • Proceedings of 47th Kasetsart University Annual Conference: Natural Resources and Environment

  • 47

  • สาขาทรัพยากรธรรมชาติ

  • 2552

  • ชำมะเลียง เชาว์ธรรม
    ปรีชา ธรรมานนท์
    สุรัตน์ บัวเลิศ

  • 978-974-660-175-7

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์;สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา;กระทรวงศึกษาธิการ;กระทรวงเกษตรและสหกรณ์;กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี;กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม;กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร;สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ;สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 47

  • กรุงเทพฯ

  • 17-20 มี.ค. 2552

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 25-32

  • 361 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • อุตุนิยมวิทยา;ฝุ่นละออง;ขนาด;ความเข้มข้น;ความสูง;ความเร็วลม;จ.กรุงเทพฯ

  • Meteorological;Vertical profile;PM sub(10);Concentration;Wind speed;Bangkok

  • งานวิจัยมีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะอุตุนิยมวิทยาที่มีผลต่อความเข้มข้นของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมโครเมตร (PM sub(10)) ตามแนวระดับความสูงในเขตเมืองกรุงเทพมหานคร การเก็บตัวอย่างตามระดับความสูงนั้นได้ทำการเก็บตัวอย่าง 3 ระดับความสูง 1) ชั้นล่าง 2) ชั้นกลาง และ 3) ชั้นบน โดยอาศัยลักษณะเมือง เช่นความขรุขระพื้นผิว (Surface Roughness) และความสูงของอาคารที่ใช้ในการเก็บ ตัวอย่างทั้ง 3 จุดเก็บตัวอย่างมีความสูง 38, 158 และ 328 เมตรตามลำดับ ผลการศึกษาพบว่าแนวโน้มความเข้มข้นฝุ่นละออง PM sub(10) มีลักษณะผกผันกับความสูงแต่พบความเข้มข้นเพิ่มขึ้นในช่วงเวลา 06.00-15.00 นาฬิกา แสดงให้เห็นผลของกิจกรรมของเมืองทำให้ความเข้มข้นของฝุ่นละออง PM sub(10) เพิ่มขึ้นทุกชั้นความสูงและพบว่าชั้นบนมีอัตราการเพิ่มขึ้นมากกว่าเมื่อเทียบกับชั้นกลางและชั้นล่าง ความสัมพันธ์ระหว่างของอุตุนิยมวิทยากับความเข้มข้นฝุ่นละออง PM sub(10) พบว่าความเร็วลมมีความสัมพันธ์แบบแปรผกผันกับความเข้มข้นฝุ่นละออง PM sub(10) มากที่สุด

  • [1] ชำมะเลียง เชาว์ธรรม (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาลัยสิ่งแวดล้อม)
    [2] ปรีชา ธรรมานนท์ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะวนศาสตร์ ภาควิชาวนวัฒนวิทยา)
    [3] สุรัตน์ บัวเลิศ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป)

  • [1] Chammalieng Choawthum (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). College of Environment)
    [2] Pricha Dhanmanonda (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Forestry. Department of Silviculture)
    [3] Surat Bualert (Chulalongkorn University, Bangkok (Thailand). Faculty of Science. Department of General Science)

390 162

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

ชำมะเลียง เชาว์ธรรม. (2552). ผลของอุตุนิยมวิทยาที่มีต่อความเข้มข้นของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมโครเมตร
           ตามแนวระดับความสูง พื้นที่ศึกษากรุงเทพมหานคร
.  กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
           สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. กระทรวงศึกษาธิการ. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
           กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
           สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.


ชำมะเลียง เชาว์ธรรม. "ผลของอุตุนิยมวิทยาที่มีต่อความเข้มข้นของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมโครเมตร
           ตามแนวระดับความสูง พื้นที่ศึกษากรุงเทพมหานคร".  กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
           สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. กระทรวงศึกษาธิการ. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
           กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
           สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
. 2552.

ชำมะเลียง เชาว์ธรรม. (2552). ผลของอุตุนิยมวิทยาที่มีต่อความเข้มข้นของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมโครเมตร
           ตามแนวระดับความสูง พื้นที่ศึกษากรุงเทพมหานคร
.  กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
           สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. กระทรวงศึกษาธิการ. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
           กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
           สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.