Creative Commons License
  • การพัฒนามาตรฐานสมรรถนะนักทรัพยากรมนุษย์ในอุตสาหกรรมยานยนต์

  • Development of competency standards of human resource officers in the automotive industrial enterprises

  • เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 46: สาขาศึกษาศาสตร์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ สาขาส่งเสริมการเกษตรและคหกรรมศาสตร์

  • Proceedings of 46th Kasetsart University Annual Conference: Education, Humanities and Social Sciences, Economics and Business Administration, Agricultural Extension and Home Economics

  • 46

  • สาขาบริหารธุรกิจ

  • 2551

  • อนุชัย รามวรังกูร
    กุลขณิษฐ์ ราเชนบุณยวัทน์
    วิกร ตัณฑวุฑโฒ
    พนิต เข็มทอง

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์;สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา;กระทรวงศึกษาธิการ;กระทรวงเกษตรและสหกรณ์;กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี;กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม;กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร;สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ;สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 46

  • กรุงเทพฯ

  • 29 ม.ค. - 1 ก.พ. 2551

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 356-367

  • 669 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • นักทรัพยากรมนุษย์;การกำหนดมาตรฐาน;อุตสาหกรรมยานยนต์;เทคนิคเดลฟาย;สมรรถนะการทำงาน

  • Competency standards;Human resource officers;Automotive industrial enterprises;Development standard;Delphi technique;Functional competency

  • การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนามาตรฐานสมรรถนะนักทรัพยากรมนุษย์ในอุตสาหกรรมยานยนต์ ซึ่งแบ่งการศึกษาออกเป็น 2 ระยะ คือระยะแรกเป็นการศึกษาสมรรถนะนักทรัพยากรมนุษย์ในอุตสาหกรรมยานยนต์ โดยใช้เทคนิคเดลฟาย เก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด 13 คน และสถิติที่ใช้คือ มัธยฐาน และพิสัยควอไทล์ ผลที่ได้จากการศึกษาระยะที่หนึ่งพบว่าสมรรถนะหลักมี 16 สมรรถนะ และสมรรถนะในการปฏิบัติหน้าที่ 26 สมรรถนะ ซึ่งได้จัดทำเป็นแบบสอบถามต้นแบบ เพื่อนำไปใช้ในการศึกษาระยะที่สองต่อไป ระยะที่สองเป็นการวิเคราะห์กลุ่มสมรรถนะนักทรัพยากรมนุษย์ในอุตสาหกรรมยานยนต์ เก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้ประกอบยานยนต์ จำนวน 6 แห่ง ผู้ผลิตชิ้นส่วนลำดับที่ 1 จำนวน 112 แห่ง และกลุ่มผู้ผลิตชิ้นส่วนลำดับที่ 2 และ 3 จำนวน 166 แห่ง รวมทั้งหมด 284 แห่ง เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามซึ่งเป็นผลจากระยะที่หนึ่ง และสถิติที่ใช้คือการวิเคราะห์องค์ประกอบด้วยวิธี Principle Component Analysis หมุนแกนแบบ Orthogonal ประเภท Varimax ผลการวิเคราะห์พบว่าค่า Kaiser - Meyer - Olkin ของสมรรถนะหลัก และสมรรถนะในการปฏิบัติหน้าที่มีค่าเท่ากับ .917 และ .952 ตามลำดับ นอกจากนี้พบว่าองค์ประกอบสมรรถนะหลักมี 3 องค์ประกอบ และองค์ประกอบสมรรถนะปฏิบัติหน้าที่มีจำนวน 4 องค์ประกอบ ซึ่งสามารถนำไปเป็นแนวทางในการกำหนดมาตรฐานสมรรถนะนักทรัพยากรมนุษย์ในอุตสาหกรรมยานยนต์

  • Objective of this research was to develop competency standard of human resource officers. The study was divided in two phases. Phase I, it was conducted competencies of human resource officers in the automotive industrial enterprises. Delphi technique was utilized to collect a consensus opinion of the selected homogeneous group of 13 experts. Then statistical tools e.g. median and interquartile range were employed on the gathered data. The results of this phase indicated 16 core competencies and 26 functional competencies which were being used as a prototype questionnaire for the next phase. Furthermore, Phase II, the group of competency human resource officers in the industry was analyzed. The first set of data used was collected from 6 automotive assembly firms. The second set was from 112 firms of the first level in the auto part manufacturers - Tier I. The third set, lastly, was from 166 firms of the second and the third level in the auto part manufacturers - Tier II and III. Therefore, a total of 284 firms were used as a key data set. The prototype questionnaire was an instrument for the study in this phase. Factor analysis, Principle Component Analysis and Orthogonal rotation (Varimax), was employed. The results indicated that Kaiser-Meyer-Okin value of core competency and functional competency was .917 and .952 respectively. Moreover, it was found that there were 3 factors in core competency and 4 factors in functional competency. Theses results may be seen as the guidance competency standards for human resource officer in the automotive enterprises.

  • [1] อนุชัย รามวรังกูร (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน คณะศึกษาศาสตร์)
    [2] กุลขณิษฐ์ ราเชนบุณยวัทน์ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน คณะศึกษาศาสตร์)
    [3] วิกร ตัณฑวุฑโฒ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน คณะศึกษาศาสตร์)
    [4] พนิต เข็มทอง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน คณะศึกษาศาสตร์)

  • [1] Anuchai Ramwarungkura (Kasetsart University. Bangkhen Campus, Bangkok (Thailand). Faculty of Education)
    [2] Kulkanit Rashainbunyawat (Kasetsart University. Bangkhen Campus, Bangkok (Thailand). Faculty of Education)
    [3] Vikorn Tantawuttho (Kasetsart University. Bangkhen Campus, Bangkok (Thailand). Faculty of Education)
    [4] Panit Khemtong (Kasetsart University. Bangkhen Campus, Bangkok (Thailand). Faculty of Education)

360 252

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

อนุชัย รามวรังกูร และคนอื่นๆ. (2551). การพัฒนามาตรฐานสมรรถนะนักทรัพยากรมนุษย์ในอุตสาหกรรมยานยนต์
           กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. กระทรวงศึกษาธิการ. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
           กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
           กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
           สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.


อนุชัย รามวรังกูร และคนอื่นๆ. "การพัฒนามาตรฐานสมรรถนะนักทรัพยากรมนุษย์ในอุตสาหกรรมยานยนต์".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. กระทรวงศึกษาธิการ. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
           กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
           กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
           สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
. 2551.

อนุชัย รามวรังกูร และคนอื่นๆ. (2551). การพัฒนามาตรฐานสมรรถนะนักทรัพยากรมนุษย์ในอุตสาหกรรมยานยนต์
           กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. กระทรวงศึกษาธิการ. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
           กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
           กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
           สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.