Creative Commons License
  • ความสามารถในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียที่แยกได้จากปลากัดและความเป็นพิษของสารสกัดใบหูกวางต่อปลากัด

  • Antibacterial activity and toxicity of Indian almond (Terminalia catappa) extract in Siamese fighting fish (Betta splendens Regan)

  • เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 44 : สาขาประมง

  • Proceedings of 44th Kasetsart University Annual Conference : Fisheries

  • 44

  • สาขาประมง

  • 2549

  • วัชริยา ภูรีวิโรจน์กุล
    นนทวิทย์ อารีย์ชน

  • 974-537-825-9

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
    กระทรวงศึกษาธิการ
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
    สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 44

  • กรุงเทพฯ

  • 30 ม.ค.-2 ก.พ. 2549

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 109-116

  • 644 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • L73-โรคสัตว์

  • L74-ความผิดปกติของสัตว์

  • F60-ชีวเคมีของพืช

  • ปลาสวยงาม;แบคทีเรีย;Terminalia catappa;ใบ;สารสกัดจากพืช;การยับยั้ง;ความเป็นพิษ;คุณสมบัติของยาต้านจุลชีพ

  • Ornamental fishes;Bacteria;Terminalia catappa;Leaves;Plant extracts;Inhibition;Toxicity;Antimicrobial properties

  • ปลากัด;แบคทีเรีย;ใบหูกวาง;สารสกัดจากพืช;การยับยั้งเชื้อ;ความเป็นพิษ

  • BETTA SPLENDENS

  • Potential of Indian Almond (Terminalia catappa) extract to control bacteria in Siamese Fighting Fish (Betta splendens Regan) namely Aeromonas hydrophila, Pseudomonas spp., Edwardsiella tarda, Plesiomonas shigelloides, Enterobacter spp., Streptococcus sp. and Staphylococcus sp. was studied. The efficacy test was conducted by Paper disc diffusion method on Muller Hinton agar (MHA). The experiment result revealed that Indian Almond extract by using water and ethyl alcohol 70 percent could inhibit growth of 7 strains of bacteria better than using ethyl alcohol 95 percent. Minimal Inhibitory Concentration (MIC) of Indian Almond extract by using water, ethyl alcohol 70 percent and ethyl alcohol 95 percent were 375-750, 375 and 375-750 ppm, respectively. Minimal Bactericidal Concentration (MBC) were 1,500-3,000, 1,500 and 1,500-3,000, respectively. The 24 hours LC50 value were 2,200, 750 and 880 ppm, respectively. Finally, water was better solvent for extract Indian Almond because of high inhibition, bactericidal activity to pathogenic bacteria and low toxicity for young Siamese Fighting Fish.

  • การศึกษาศักยภาพของสารสกัดใบหูกวางที่สกัดโดยใช้ตัวทำละลายทั้ง 3 ชนิด ได้แก่ น้ำ เอทิล-แอลกอฮอล์ 70 เปอร์เซ็นต์ และ เอทิลแอลกอฮอล์ 95 เปอร์เซ็นต์ ในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรีย 7 ชนิด ได้แก่ Aeromonas hydrophila, Pseudomonas sp., Edwardsiella tarda, Plesiomonas shigelloides, Enterobacter sp., Streptococcus sp. และ Staphylococcus sp. ที่พบในปลากัด ทดสอบโดยวิธี paper disc diffusion บนอาหารเลี้ยงเชื้อ Muller Hinton agar (MHA) พบว่าสารสกัดใบหูกวางที่สกัดโดยใช้น้ำ และเอทิลแอลกอฮอล์ 70 เปอร์เซ็นต์ มีประสิทธิภาพในการยับยั้งแบคทีเรียได้สูงกว่าการใช้เอทิลแอลกอฮอล์ 95 เปอร์เซ็นต์ เป็นตัวทำละลาย การศึกษาความเข้มข้นต่ำสุดของสารสกัดใบหูกวางที่สกัดโดยใช้น้ำ เอทิลแอลกอฮอล์ 70 เปอร์เซ็นต์ และ เอทิลแอลกอฮอล์ 95 เปอร์เซ็นต์ เป็นตัวทำละลายในการยับยั้งการเจริญของเชื้อแบคทีเรีย (MIC) มีค่าเท่ากับ 375-750, 375 และ 375-750 ppm ตามลำดับ ความเข้มข้นต่ำสุดที่สามารถฆ่าแบคทีเรีย (MBC) มีค่า 1,500-3,000, 1,500 และ 1,500-3,000 ppm ตามลำดับ ส่วนค่าความเป็นพิษเฉียบพลันของสารสกัดใบหูกวางที่ทำให้ลูกปลากัดตายครึ่งหนึ่ง (LC50) ที่ 24 ชั่วโมง มีค่า 2,200, 750 และ 880 ppm ตามลำดับ ผลจากการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าน้ำเป็นตัวทำละลายที่มีประสิทธิภาพดีที่สุดในการสกัดใบหูกวางเนื่องจากสามารถยับยั้งและกำจัดแบคทีเรียได้ดี และมีค่าความเป็นพิษต่อลูกปลากัดต่ำ

  • [1] วัชริยา ภูรีวิโรจน์กุล (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาสัตววิทยา)
    [2] นนทวิทย์ อารีย์ชน (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน คณะประมง ภาควิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ)

  • [1] Watchariya Purivirojkul (Kasetsart University. Bangkhen Campus, Bangkok (Thailand). Faculty of Science. Department of Zoology)
    [2] Nontawith Areechon (Kasetsart University. Bangkhen Campus, Bangkok (Thailand). Faculty of Fisheries. Department of Aquaculture)

1,361 199

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

วัชริยา ภูรีวิโรจน์กุล และ นนทวิทย์ อารีย์ชน. (2549).
           ความสามารถในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียที่แยกได้จากปลากัดและความเป็นพิษของสารสกัดใบหูกวางต่อปลากัด
           กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.


วัชริยา ภูรีวิโรจน์กุล และ นนทวิทย์ อารีย์ชน.
           "ความสามารถในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียที่แยกได้จากปลากัดและความเป็นพิษของสารสกัดใบหูกวางต่อปลากัด". 
           กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
           2549.

วัชริยา ภูรีวิโรจน์กุล และ นนทวิทย์ อารีย์ชน. (2549).
           ความสามารถในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียที่แยกได้จากปลากัดและความเป็นพิษของสารสกัดใบหูกวางต่อปลากัด
           กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.