Creative Commons License
  • การสกัดฮอร์โมนโพรสตาแกลนดินจากแม่เพรียงทรายและผลของสารสกัดฮอร์โมนต่อการพัฒนาของไข่แม่กุ้งกุลาดำ

  • Extraction of prostaglandin hormones from polychaetes (Perinereis sp. ) and effect of extracted hormones on giant tiger shrimp (Penaeus monodon) ovarian development

  • เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 44 : สาขาประมง

  • Proceedings of 44th Kasetsart University Annual Conference : Fisheries

  • 44

  • สาขาประมง

  • 2549

  • เอกชัย ดวงใจ
    อรพร หมื่นพล
    เรืองวิชญ์ ยุ้นพันธ์

  • 974-537-825-9

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
    กระทรวงศึกษาธิการ
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
    สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 44

  • กรุงเทพฯ

  • 30 ม.ค.-2 ก.พ. 2549

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 77-84

  • 644 หน้า

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • L50-ชีวเคมีของสัตว์

  • L53-การสืบพันธุ์สัตว์

  • Annelida;Penaeus monodon;โปรสตาแกลนดิน;ฮอร์โมน;การสกัด;เซลล์ไข่;การพัฒนาทางชีววิทยา

  • Annelida;Penaeus monodon;Prostaglandins;Hormones;Extraction;Ova;Biological development

  • แม่เพรียงทราย;กุ้งกุลาดำ;โพรสตาแกลนดิน;ฮอร์โมน;การสกัด;ไข่;การพัฒนาการ

  • PERINEREIS;POLYCHAETES

  • ทำการสกัดฮอร์โมนโพรสตาแกลนดิน อีทู (Prostaglandins E2, PGE2) จากแม่เพรียงทรายร่วมกับอาหารธรรมชาติ และเนื้อเยื่อแม่กุ้งกุลาดำ วิเคราะห์สารสกัดเพื่อหาความเข้มข้น PGE2 ด้วยวิธี ELISA (Enzyme-Linked Immuno Sorbent Assay) และ RP-HPLC (Reverse-phase High Performance Liquid Chromatography) จากนั้นทำการทดลองบ่ม (in vitro egg incubation) ไข่อ่อนของแม่กุ้งกุลาดำในห้องปฏิบัติการด้วยสารสกัดฮอร์โมน PGE2 จากแม่เพรียงทราย และ PGE2 สังเคราะห์ ที่ระดับความเข้มข้นเท่ากับ PGE2 สูง สุดในรังไข่ของแม่กุ้งกุลาดำ ปริมาณ PGE2 ในแม่เพรียงทราย พบว่า เพิ่มตามช่วงอายุ 2, 4, 6 และ 8 เดือน ในแม่พันธุ์กุ้งกุลาดำมีปริมาณ PGE2 สูงสุดในรังไข่ ที่มีไข่ระยะคอร์ติคอลรอด รองลงมาเป็นตัวอย่างน้ำเลือด ที่มีไข่ระยะวิเทลโลจินิค โอโอไซต์ และไม่พบความแตกต่างของ PGE2 ในกล้ามเนื้อแม่กุ้ง เมื่อเปรียบเทียบอาหารธรรมชาติที่ใช้เลี้ยงแม่พันธุ์กุ้ง พบว่า แม่เพรียงโคลนมีปริมาณ PGE2 เป็นอันดับสองรองจากแม่เพรียงทราย กุ้งก้ามกราม หมึกกล้วย หอยแครง และหอยแมลงภู่ ผลการบ่มรังไข่และไข่กุ้งในห้องทดลอง พบว่า PGE2 ทำให้ไข่อ่อนมีการสะสมไข่แดง และพัฒนากลายเป็นไข่แก่ (vitellogenic oocytes) พร้อมตกไข่ (cortical rod stage) โดยที่ PGE2 สกัดจากแม่เพรียงทรายที่ระดับความเข้มข้น 5 ng/ml.ให้ไข่แก่ 59.1+-1.0 เปอร์เซ็นต์ และไข่พร้อมตกไข่สูง 22.70+- 1.2 เปอร์เซ็นต์ ในขณะที่ PGE2 สังเคราะห์ ความเข้มข้นเท่ากับ PGE2 สกัดจากแม่เพรียงทรายให้ผลลบต่อพัฒนาการของไข่

  • Prostaglandin E2(PGE2) was extracted from natural polychaetes (Perinereis sp.), prawn broodstock live feeds and female prawn broodstocks.The PGE2 level in an extract was quantified by either ELISA or RP-HPLC depending on its concentration. To investigate the effect of PGE2 on prawn reproductive system, previtellogenic oocytes of the giant tiger prawn broodstock were incubated with N2-dried polychaete extract at their respective concentration compared with various concentrations of synthetic PGE2. The in vitro incubation was terminated at 24 hours after which histology examination and diameter measurement of oocytes of each treatment were performed to evaluate development of previtellogenic oocytes. Level of PGE2 varied according to ages of polychaetes. PGE2 was found in numerous tissues with the highest value in ovary stage cortical rod followed by haemolymph and muscle. PGE2 can be detected in all live feeds for prawn broodstock with the highest rank from sand polychaetes, followed by mud polychaetes, freshwater prawn, squid, clams and mussels. Prawn ovary in vitro incubation with various treatment of PGE2 showed that PGE2 stimulated uptake of vitellogenin into oocytes. After 24 hours incubation with this hormone, immature oocytes developed into matured and ready to spawn oocytes. PGE2 extracted from polychaetes at 5 ng/ml gave more prominent effect on oocyte development over synthetic PGE2 at same concentration of hormone.

  • [1] เอกชัย ดวงใจ (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา วิทยาเขตน่าน คณะประมง)
    [2] อรพร หมื่นพล (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล)
    [3] เรืองวิชญ์ ยุ้นพันธ์ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน คณะประมง)

  • [1] Ekkachai Duangjai (Rajamangala University of Technology Lanna. Nan Campus (Thailand). Faculty of Fisheries)
    [2] Oraporn Meunpol (Chulalongkorn University, Bangkok (Thailand). Faculty of Science. Department of Marine Science)
    [3] Ruangvit Yoonpundh (Kasetsart University. Bangkhen Campus, Bangkok (Thailand). Faculty of Fisheries)

849 276

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

เอกชัย ดวงใจ. (2549).
           การสกัดฮอร์โมนโพรสตาแกลนดินจากแม่เพรียงทรายและผลของสารสกัดฮอร์โมนต่อการพัฒนาของไข่แม่กุ้งกุลาดำ
           กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.


เอกชัย ดวงใจ.
           "การสกัดฮอร์โมนโพรสตาแกลนดินจากแม่เพรียงทรายและผลของสารสกัดฮอร์โมนต่อการพัฒนาของไข่แม่กุ้งกุลาดำ". 
           กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
           2549.

เอกชัย ดวงใจ. (2549).
           การสกัดฮอร์โมนโพรสตาแกลนดินจากแม่เพรียงทรายและผลของสารสกัดฮอร์โมนต่อการพัฒนาของไข่แม่กุ้งกุลาดำ
           กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.