Creative Commons License
  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
    กระทรวงศึกษาธิการ
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
    สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 44

  • กรุงเทพฯ

  • 30 ม.ค.-2 ก.พ. 2549

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 52-59

  • 644 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • L10-การปรับปรุงพันธุ์สัตว์

  • Puntius gonionotus;อสุจิ;การเก็บรักษาทางชีวภาพ;การแช่แข็ง;สารป้องกันการถูกทำลายจากการแช่แข็ง;ความเป็นพิษ;การเก็บรักษา;คุณภาพ

  • Puntius gonionotus;Spermatozoa;Biological preservation;Freezing;Cryoprotectants;Toxicity;Storage;Quality

  • ปลาตะเพียนขาว;น้ำเชื้อ;การเก็บรักษา;การแช่แข็ง;สารไครโอโพรเทคแทนท์;ความเป็นพิษ;การเก็บรักษา;การเคลื่อนที่

  • การเก็บรักษาน้ำเชื้อปลาตะเพียนขาว (Puntius gonionotus) แบบแช่แข็ง มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาวิธีการแช่แข็งน้ำเชื้อปลาตะเพียนขาว ได้แบ่งการทดลองออกเป็น 3 ตอน คือ ตอนที่ 1 ศึกษาความเป็นพิษของสารไครโอโพรเทคแทนท์ทั้ง 9 ชนิด (DMSO, methanol, sucrose, propylene glycol, acetamide, glycerol, ethanol, ethylene glycol และ formamide) ที่มีต่อการเคลื่อนที่ของสเปิร์ม พบว่าการใช้ DMSO, methanol และ sucrose มีความเป็นพิษต่อสเปิร์มน้อยที่สุด ตอนที่ 2 ทำการเก็บรักษาน้ำเชื้อปลาตะเพียนขาว แบบแช่แข็ง โดยนำน้ำเชื้อมาเจือจางใน Ca-F HBSS และสารละลาย DMSO ความเข้มข้น 5 percent,10 เปอร์เซ็นต์,15 เปอร์เซ็นต์ และ 20 เปอร์เซ็นต์ นาน 10 นาที แล้วทำการแช่แข็งด้วยอัตราการลดอุณหภูมิ 3 ระดับ (3, 5 และ 10 องศาเซลเซียส/นาที) พบว่า DMSO ทุกระดับความเข้มข้นและอัตราการลดอุณหภูมิ มีการเคลื่อนที่ของสเปิร์มอยู่ระหว่าง 46.7-80 เปอร์เซ็นต์ หลังการละลาย ซึ่งไม่แตกต่างทางสถิติกับกลุ่มควบคุม (80-100 เปอร์เซ็นต์) ตอนที่ 3 ศึกษาผลของระยะเวลาในการเก็บรักษาน้ำเชื้อปลาตะเพียนขาวแบบแช่แข็ง พบว่า DMSO 10 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเก็บรักษาไว้ในไนโตรเจนเหลวนาน 11 วัน มีการเคลื่อนที่ของสเปิร์มหลังการละลาย เท่ากับ 73.4 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P มากกว่า 0.05) กับน้ำเชื้อสด

  • Objective of this study was to develop the protocol for cryopreservation of Puntius gonionotus milt. In the first experiment, the study was focused on the toxicity of cryoprotectant on sperm motility using DMSO, methanol, sucrose, propylene glycol, acetamide, glycerol, ethanol, ethylene glycol and formamide. Result showed that DMSO, methanol and sucrose had the lowest toxicity, compared to other cryoprotectants. In the second experiment, milt was equilibrated for 10 min with Ca-F HBSS before cryopreservation using three freezing rates (3, 5 and 10 deg C/min). Cryopreserved milt in all treatments had average percentage of sperm motility between 46.7-80 percent, which was not significantly different (P GT 0.05) from the control (80-100 percent). Cryopreserved milt prepared with 10 percent DMSO and kept in liquid nitrogen for 11 days had percentage of sperm motility of about 73.4 percent, which was not significantly different (P GT 0.05) from fresh milt.

  • [1] ศิริพร คชรัตน์ (มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาวาริชศาสตร์)
    [2] กมลวรรณ ศุภวิญญู (มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาวาริชศาสตร์)
    [3] วีรพงศ์ ปฐมวรชาติ (มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาวาริชศาสตร์)
    [4] สุบัณฑิต นิ่มรัตน์ (มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาจุลชีววิทยา)
    [5] วีรพงศ์ วุฒิพันธุ์ชัย (มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาวาริชศาสตร์)

  • [1] Siriporn Codcharat (Burapha University, Chon Buri (Thailand). Faculty of Science. Department of Aquatic Science)
    [2] Kamonwan Suphawinyoo (Burapha University, Chon Buri (Thailand). Faculty of Science. Department of Aquatic Science)
    [3] Weerapong Prathomvorrachart (Burapha University, Chon Buri (Thailand). Faculty of Science. Department of Aquatic Science)
    [4] Subuntith Nimrat (Burapha University, Chon Buri (Thailand). Faculty of Science. Department of Microbiology)
    [5] Verapong Vuthiphandchai (Burapha University, Chon Buri (Thailand). Faculty of Science. Department of Aquatic Science)

336 152

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

ศิริพร คชรัตน์ และคนอื่นๆ. (2549). การเก็บรักษาน้ำเชื้อปลาตะเพียนขาว (Puntius gonionotus) แบบแช่แข็ง.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.


ศิริพร คชรัตน์ และคนอื่นๆ. "การเก็บรักษาน้ำเชื้อปลาตะเพียนขาว (Puntius gonionotus) แบบแช่แข็ง".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
           2549.

ศิริพร คชรัตน์ และคนอื่นๆ. (2549). การเก็บรักษาน้ำเชื้อปลาตะเพียนขาว (Puntius gonionotus) แบบแช่แข็ง.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.