Creative Commons License
  • สัตว์หน้าดินขนาดใหญ่บริเวณแม่น้ำเจ้าพระยาตอนล่าง

  • Benthic macrofauna in the lower Chao Phraya river

  • เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 44 : สาขาประมง

  • Proceedings of 44th Kasetsart University Annual Conference : Fisheries

  • 44

  • สาขาประมง

  • 2549

  • วฤชา กาญจนอักษร
    ศรัณย์ เพ็ชร์พิรุณ

  • 974-537-825-9

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
    กระทรวงศึกษาธิการ
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
    สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 44

  • กรุงเทพฯ

  • 30 ม.ค.-2 ก.พ. 2549

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 44-51

  • 644 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • M40-นิเวศวิทยาทางน้ำ

  • L60-อนุกรมวิธานสัตว์

  • สิ่งมีชีวิตพื้นทะเล;ชนิด;ความหนาแน่นของประชากร;การแพร่กระจายทางภูมิศาสตร์;ตะกอน;คุณภาพน้ำ;แม่น้ำ

  • Benthos;Species;Population density;Geographical distribution;Sediment;Water quality;Rivers

  • สัตว์หน้าดินขนาดใหญ่;ชนิด;ปริมาณ;ความหนาแน่น;การแพร่กระจาย;คุณสมบัติดินตะกอน;คุณภาพน้ำ;แม่น้ำเจ้าพระยาตอนล่าง

  • การศึกษาสัตว์หน้าดินขนาดใหญ่บริเวณแม่น้ำเจ้าพระยาตอนล่างในเดือนตุลาคม 2547 และกุมภาพันธ์ 2548 โดยเครื่องมือ Ekman grab จำนวน 14 สถานี พบสัตว์หน้าดินทั้งหมด 30 ชนิด ประกอบด้วยไส้เดือนน้ำ ไส้เดือนทะเล หอยฝาเดียว หอยสองฝา และครัสตาเชียน ไส้เดือนน้ำเป็นสัตว์หน้าดินกลุ่มเด่นมีทั้งหมดด้วยกัน 3 ชนิด คือ Limnodrilus sp. (ร้อยละ 68.9-70.4), Pristina sp. (ร้อยละ 8.96-18.7) และ Aulodrilus sp. (ร้อยละ 4.09-5.01) ความหนาแน่นของสัตว์หน้าดินในแต่ละสถานีมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ในช่วงกว้างตั้งแต่ 385.19-14,355.56 และ 74.07-12,340.74 ตัวต่อตารางเมตร ในเดือนตุลาคม 2547 และกุมภาพันธ์ 2548 ตามลำดับ ซึ่งจะแปรผันตามความหนาแน่นของ Limnodrilus sp. โดยจะมีความหนาแน่นสูงบริเวณสถานีที่ 8, 6, 11 และ 9 ความสัมพันธ์ระหว่างความหนาแน่นของสัตว์หน้าดินกับปัจจัยสิ่งแวดล้อมมีแนวโน้มว่าเมื่อปริมาณอินทรียสารและปริมาณโคลนเลนสูงขึ้นจะพบสัตว์หน้าดินหนาแน่นมากขึ้น สารอินทรีย์ในดินตะกอนจะมีปริมาณสูงในบริเวณพื้นที่ชุมชนและแหล่งอุตสาหกรรม ส่วนคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์ปกติยกเว้นปริมาณออกซิเจนละลายน้ำที่มีค่าต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน

  • Macrobenthic community in the lower Chao Phraya river were investigated at 14 stations in October 2004 and February 2005 by using Ekman grab. A total of 30 macrofauna species were recorded comprising of oligochaetes, polychaetes, gastropods, bivalves and cruataceans. Oligochaetes were most abundant consisting of 3 dominant species, i.e. Limnodrilus sp. (68.9-70.4 percent), Pristina sp. (8.96-18.7 percent) and Aulodrilus sp. (4.09-5.01 percent). Average density of macrofauna varied widely in each station in both October (385.19-14,355.56 individual per square meter) and February (74.07-12,340.74 individual per square meter). It indicated that total density of macrofauna was changed related to the density of Limnodrilus sp. showing high abundance at stations 8, 6, 11 and 9. Relationship between the density of macrobenthos and physico-chemical characteristics seemed that high content of total organic matter and silt-clay showed positive trend with dense population of the fauna. Organic content was found most concentrated in urbanized and industrial area. The water qualities were within the Thailand National Water Quality Classification for industrial purpose, except for dissolved oxygen which declined below the criteria.

  • [1] วฤชา กาญจนอักษร (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน คณะประมง ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล)
    [2] ศรัณย์ เพ็ชร์พิรุณ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน คณะประมง ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล)

  • [1] Warucha Kanchana-Aksorn (Kasetsart University. Bangkhen Campus, Bangkok (Thailand). Faculty of Fisheries. Department of Marine Science)
    [2] Saran Petpiroon (Kasetsart University. Bangkhen Campus, Bangkok (Thailand). Faculty of Fisheries. Department of Marine Science)

241 132

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

วฤชา กาญจนอักษร และ ศรัณย์ เพ็ชร์พิรุณ. (2549). สัตว์หน้าดินขนาดใหญ่บริเวณแม่น้ำเจ้าพระยาตอนล่าง
           กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.


วฤชา กาญจนอักษร และ ศรัณย์ เพ็ชร์พิรุณ. "สัตว์หน้าดินขนาดใหญ่บริเวณแม่น้ำเจ้าพระยาตอนล่าง".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
           2549.

วฤชา กาญจนอักษร และ ศรัณย์ เพ็ชร์พิรุณ. (2549). สัตว์หน้าดินขนาดใหญ่บริเวณแม่น้ำเจ้าพระยาตอนล่าง
           กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.