Creative Commons License
  • องค์ประกอบผลจับสัตว์น้ำจากลอบพับ ในบริเวณเขตสงวนชีวมณฑลระนอง

  • Species composition of collapsible trap in Ranong biosphere reserved area, Thailand

  • เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 44 : สาขาประมง

  • Proceedings of 44th Kasetsart University Annual Conference : Fisheries

  • 44

  • สาขาประมง

  • 2549

  • นายพิสิฐ ภูมิคง
    วิทยา หะวานนท์
    สนธยา กูลกัลยา
    ธนิษฐา ทรรพนันทน์

  • 974-537-825-9

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
    กระทรวงศึกษาธิการ
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
    สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 44

  • กรุงเทพฯ

  • 30 ม.ค.-2 ก.พ. 2549

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 37-43

  • 644 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • M11-การประมง

  • N20-เกษตรกลวิธาน

  • สัตว์น้ำ;การประมงด้วยเครื่องมือดักจับ;เครื่องมือทำการประมง;วิธีทำการประมง;ชนิด;ประสิทธิภาพ;ประเทศไทย

  • Aquatic animals;Trap fishing;Fishing gear;Fishing methods;Species;Efficiency;Thailand

  • สัตว์น้ำ;ลอบพับ;การจับ;องค์ประกอบชนิด;ประสิทธิภาพ;เขตสงวนชีวมณฑลระนอง

  • การศึกษาองค์ประกอบผลจับสัตว์น้ำของลอบพับในบริเวณเขตสงวนชีวมณฑลระนอง จังหวัดระนอง ระหว่างเดือนตุลาคม 2546 ถึงตุลาคม 2547 พบว่า ลอบพับมีองค์ประกอบผลจับสัตว์น้ำเป็น ปูทะเล (Scylla sp.) 84.12 เปอร์เซ็นต์ ของน้ำหนักผลจับรวม ปูหิน Thalamita crenata (Latreille, 1829) 14.07 เปอร์เซ็นต์ ปูเสฉวน, Clibanarius longitarsus (de Hann, 1849) 1.15 เปอร์เซ็นต์ ปูใบ้, Sphaerozius sp. 0.03 เปอร์เซ็นต์ ปลาเก๋า, Ephinephelus tauvina (Forsskal, 1775) 0.57 เปอร์เซ็นต์ และหอยโมฬี Pugilina cochlidium (Linnaeus, 1758) 0.06 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ นับได้ว่า ลอบพับ เป็นเครื่องมือประมงที่มีประสิทธิภาพในการจับปูทะเลซึ่งเป็นสัตว์น้ำเป้าหมายได้เป็นอย่างดี ผลจับต่อหน่วยการลงแรงประมงเฉลี่ยของปูทะเลตลอดการศึกษาครั้งนี้เท่ากับ 370.15 กรัมต่อลอบหรือ 3.2 ตัวต่อลอบ ปูทะเลที่จับได้ตลอดการศึกษามีทั้งหมด 501 ตัว น้ำหนักรวม 57.92 กก. เป็นเพศผู้ 273 ตัว มีความกว้างกระดองระหว่าง 1.05-11.86 ซม. และเพศเมีย 228 ตัว มีความกว้างกระดองระหว่าง 1.03-11.95 ซม. เมื่อพิจารณาขนาดเฉลี่ยของปูทะเลที่จับได้ พบว่า มีความกว้างกระดองน้อยกว่าขนาดสืบพันธุ์ได้ 50 เปอร์เซ็นต์ คือ 9.39 ซม. ถึง 56 เปอร์เซ็นต์ ของจำนวนตัว แสดงให้เห็นว่าลอบพับที่ใช้ในปัจจุบัน จับปูขนาดเล็กมาใช้ประโยชน์ก่อนเวลาอันควร

  • Species composition of collapsible trap was studied in Ranong Biosphere Reserved Area, Thailand during October 2003 through October 2004. The composition by weight of collapsible trap comprised 84.21 percent of mud crab (Scylla sp.), 14.07 percent of crenate swimming crab, Thalamita crenata (Latreille, 1829), 1.15 percent of hermit crab. Clibanarius longitarsus (de Hann, 1849), 0.03 percent of menippid crab, Sphaerozius sp., 0.57 percent of greasy grouper, Epinephelus tauvina (Forsskal, 1775), and 0.06 percent of spiral melongina, Puligina cochlidium (Linnaeus, 1758), respectively. It is shown that collapsible trap is a well-respond fishing gear to mud crab fisheries. An average CPUE through the study was 370.15 g/trap or 3.2 crabs/trap. The total number of mud crab in the study was 501 crabs with 57.92 kg. The 273 males have an internal carapace width (ICW) 1.05-11.86 cm whereas the 228 females have an ICW 1.03-11.95 cm. The average size of fished crab was 56 percent by individual smaller than the size at 50 percent maturity (9.39 cm.). It was shown that the crab was exploited under the appropriate size.

  • [1] นายพิสิฐ ภูมิคง (กรมประมง สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรประมงน้ำจืด)
    [2] วิทยา หะวานนท์ (สถานีเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งจังหวัดระนอง)
    [3] สนธยา กูลกัลยา (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน คณะประมง ภาควิชาชีววิทยาประมง)
    [4] ธนิษฐา ทรรพนันทน์ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน คณะประมง ภาควิชาชีววิทยาประมง)

  • [1] Pisit Poomikong (Department of Fisheries, Bangkok (Thailand). Inland Fisheries Resources Research and Development Institute)
    [2] Wittaya Havanont (Ranong Coastal Aquaculture Station, Ranong (Thailand))
    [3] Sontaya Koolkalya (Kasetsart University. Bangkhen Campus, Bangkok (Thailand). Faculty of Fisheries. Department of Fishery Biology)
    [4] Thanitha Thapanand (Kasetsart University. Bangkhen Campus, Bangkok (Thailand). Faculty of Fisheries. Department of Fishery Biology)

359 181

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

นายพิสิฐ ภูมิคง และคนอื่นๆ. (2549). องค์ประกอบผลจับสัตว์น้ำจากลอบพับ ในบริเวณเขตสงวนชีวมณฑลระนอง
           กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.


นายพิสิฐ ภูมิคง และคนอื่นๆ. "องค์ประกอบผลจับสัตว์น้ำจากลอบพับ ในบริเวณเขตสงวนชีวมณฑลระนอง".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
           2549.

นายพิสิฐ ภูมิคง และคนอื่นๆ. (2549). องค์ประกอบผลจับสัตว์น้ำจากลอบพับ ในบริเวณเขตสงวนชีวมณฑลระนอง
           กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.