Creative Commons License
  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
    กระทรวงศึกษาธิการ
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
    สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 44

  • กรุงเทพฯ

  • 30 ม.ค. - 2 ก.พ. 2549

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 42-48

  • 828 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • H20-โรคพืช

  • Lycopersicon esculentum;Piper nigrum;Cucurbitaceae;Vigna unguiculata unguiculata;Nicotiana;Chenopodium quinoa;Petunia;Capsicum annuum;Arachis hypogaea;Cucumis sativus;Cucumis melo;Plant diseases;Viroses;Thrips (genus);Vectors;Thailand

  • ถั่วพุ่ม;พริก;ยาสูบ;มะเขือเทศ;คีโนโปเดียม;ถั่วลิสง;พิทูเนีย;แตงกวา;เมลอน;ทอสโพไวรัส;เพลี้ยไฟ;พาหะนำโรค;ความหลากหลาย

  • TOSPOVIRUSES

  • เก็บตัวอย่างพืชที่ตรวจพบเชื้อทอสโพไวรัสจำนวน 21 ไอโซเลท จากแปลงปลูกมะเขือเทศ พริก แตง และถั่วลิสง ในพื้นที่ 7 จังหวัด นำมาศึกษาความหลากหลายของเชื้อทอสโพไวรัส ด้วยลำดับนิวคลีโอไทด์และลำดับกรดอะมิโนของโปรตีนห่อหุ้มกรดนิวคลีอิค รวมทั้งศึกษาลักษณะอาการบนพืชอาศัยและจำแนกชนิดของเพลี้ยไฟที่พบว่าเป็นแหล่งสะสมเชื้อทอสโพไวรัส ผลการศึกษาพบว่าทอสโพไวรัสที่เก็บมา จำแนกได้ 3 สปีชีส์ (ชนิด) ซึ่งจัดอยู่ในซีโรกรุ๊ป IV คือ Tomato necrotic spot virus (TNSV), Watermelon silver mottle virus (WSMoV), Capsicum chlorosis virus (CaCV) และอีก 1 สปีชีส์ ที่จัดอยู่ต่างซีโรกรุ๊ป คือ Melon yellow spot virus (MYSV) โดยที่ตรวจไม่พบ Tomato spotted wilt virus และ Peanut bud necrosis virus (PBNV) TNSV และ CaCV มีสายสัมพันธ์ทางพันธุกรรมใกล้ชิดกันแต่แตกต่างจาก PBNV ปฏิกิริยาทางซีรัมวิทยาของเชื้อต่อแอนติซีรัมของทอสโพไวรัสซีโรกรุ๊ปต่าง ๆ ให้ผลสอดคล้องกับข้อมูลจีโนม ลักษณะอาการบนพืชทดสอบใช้ระบุการติดเชื้อทอสโพไวรัสได้ แต่ไม่สามารถใช้ในการจำแนกทอสโพไวรัสแต่ละสปีชีส์ ผลการจำแนกชนิดของเพลี้ยไฟที่เก็บมาจากแปลงปลูกพืช พบว่า มีเพลี้ยไฟชนิด Scirtothrips dorsalis มากในแปลงถั่วลิสง ชนิด Thrips tabaci ในแปลงปลูกพืชตระกูลแตง และตรวจพบเชื้อ TNSV, CaCV, WSMoV และ MYSV สะสมในตัวเพลี้ยไฟทั้ง 2 ชนิดด้วยเทคนิค RT-PCR ซึ่งจะต้องศึกษาประสิทธิภาพการถ่ายทอดโรคโดยเพลี้ยไฟเหล่านี้ต่อไป

  • Twenty-one isolates of tospovirus were collected from leaves of tomato, pepper, cucurbits and peanut plants in different areas of 7 provinces in Thailand and characterized based on sequences of nucleocapsid (N) gene and protein. The virus biology based on host responses and thrips vectors were also investigated. The results indicated that the collected tospovirus isolates represented 3 species in serogroup IV designated as Tomato necrotic spot virus (TNSV), Watermelon silver mottle virus (WSMoV), Capsicum chlorosis virus (CaCV), and one distinct species in separate serogroup designated as Melon yellow spot virus (MYSV). None of the collected samples were found to be infected with TSWV or PBNV. TNSV and CaCV are closely related species but different from PBNV. Serological properties of the studied tospovirus isolates were well corresponded with the results obtained from N gene characterization. Host responses of some tospovirus isolates under this study could indicate for tospovirus infection but not able to distinguish the three species in serogroup IV or MYSV. The predominant thrips species in peanut field was Scirtothrips dorsalis while it was Thrips tabaci in cucurbit fields. TNSV, CaCV, WSMoV and MYSV were found in bodies of both thrips species as detected by reverse transcription polymerase chain reaction (RT-PCR). Virus transmission by these thrips species is still under investigation.

  • [1] พิสสวรรณ เจียมสมบัติ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน คณะเกษตร ภาควิชาโรคพืช)
    [2] อรประไพ คชนันทน์ (ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ หน่วยปฏิบัติการวิจัยกลาง)
    [3] รัชนี ฮงประยูร (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน คณะเกษตร ภาควิชาโรคพืช)
    [4] อัญจนา บุญชด (ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ หน่วยปฏิบัติพันธุวิศวกรรมด้านพืช)
    [5] วิมล สีเทา (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน คณะเกษตร ภาควิชาโรคพืช)
    [6] นุชนาถ วารินทร์ (ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ หน่วยปฏิบัติพันธุวิศวกรรมด้านพืช)
    [7] ชาญณรงค์ ศรีภิบาล (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน คณะเกษตร ภาควิชาโรคพืช)
    [8] ปิยาภรณ์ เพชรสูงเนิน (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน คณะเกษตร ภาควิชาโรคพืช)

  • [1] Pissawan Chiemsombat (Kasetsart University. Kamphaeng Saen Campus, Nakhon Pathom (Thailand). Faculty of Agriculture. Department of Plant Pathology)
    [2] Oraprapai Gajanandana (National Center for Genetic Engineering and Biotechnology, Pathum Thani (Thailand). Central Research Unit)
    [3] Ratchanee Hongprayoon (Kasetsart University. Kamphaeng Saen Campus, Nakhon Pathom (Thailand). Faculty of Agriculture. Department of Plant Pathology)
    [4] Anjana Bhunchoth (National Center for Genetic Engineering and Biotechnology, Pathum Thani (Thailand). Plant Genetic Engineering Unit)
    [5] Wimol Seetou (Kasetsart University. Kamphaeng Saen Campus, Nakhon Pathom (Thailand). Faculty of Agriculture. Department of Plant Pathology)
    [6] Nuchnard Warin (National Center for Genetic Engineering and Biotechnology, Pathum Thani (Thailand). Plant Genetic Engineering Unit)
    [7] Channarong Seepiban (Kasetsart University. Kamphaeng Saen Campus, Nakhon Pathom (Thailand). Faculty of Agriculture. Department of Plant Pathology)
    [8] Piyaporn Petchsoongnern (Kasetsart University. Kamphaeng Saen Campus, Nakhon Pathom (Thailand). Faculty of Agriculture. Department of Plant Pathology)

268 201

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

พิสสวรรณ เจียมสมบัติ และคนอื่นๆ. (2549).
           ความหลากหลายของทอสโพไวรัสที่พบในประเทศไทยและเพลี้ยไฟที่เป็นพาหะนำโรค.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.


พิสสวรรณ เจียมสมบัติ และคนอื่นๆ.
           "ความหลากหลายของทอสโพไวรัสที่พบในประเทศไทยและเพลี้ยไฟที่เป็นพาหะนำโรค".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
           2549.

พิสสวรรณ เจียมสมบัติ และคนอื่นๆ. (2549).
           ความหลากหลายของทอสโพไวรัสที่พบในประเทศไทยและเพลี้ยไฟที่เป็นพาหะนำโรค.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.