Creative Commons License
  • การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพรรณไม้น้ำอะโกลนีม่า Aglaonema simplex

  • Micropropagation of Aglaonema simplex

  • เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 43: สาขาประมง สาขาการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

  • Proceedings of 43rd Kasetsart University Annual Conference : Fisheries, Natural Resources and Environmental Economics

  • 43

  • สาขาประมง

  • 2548

  • นงนุช เลาหะวิสุทธิ์
    มัลลิกา มิตรน้อย

  • 974-537-635-3

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
    กระทรวงศึกษาธิการ
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
    สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 43

  • กรุงเทพฯ

  • 1-4 ก.พ. 2548

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 267-274

  • 574 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • F02-การขยายพันธุ์พืช

  • Aglaonema;พืชน้ำ;การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ;อาหารเพาะเลี้ยง;สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช;การเติบโต

  • Aglaonema;Aquatic plants;Tissue culture;Culture media;Plant growth substances;Growth

  • อะโกลนีมา;พรรณไม้น้ำ;การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ;สูตรอาหาร;สารควบคุมการเจริญเติบโต;การเจริญเติบโต

  • AGLAONEMA SIMPLEX

  • การทดลองขยายพันธุ์อะโกลนีม่าโดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ และชักนำให้เกิดต้นอ่อนในอาหารสังเคราะห์สูตรของ Murashige and Skoog (1962) ที่เติมสารควบคุมการเจริญเติบโต 2 ชนิด คือ alpha-Napthaleneacetic Acid (NAA) ความเข้มข้น 3 ระดับ ได้แก่ 0, 1 และ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร กับ 6-Benzylaminopurine (BA) ความเข้มข้น 3 ระดับ ได้แก่ 0, 1 และ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร ในระยะเวลา 6 สัปดาห์ พบว่า ชิ้นเนื้อเยื่อส่วนยอดของอะโกลนีม่าที่นำมาเลี้ยงในอาหารที่เติมสารควบคุมการเจริญเติบโต BA 2 มิลลิกรัมต่อลิตรเพียงอย่างเดียว สามารถชักนำให้ชิ้นเนื้อเยื่อเกิดต้นอ่อนได้เร็วในปริมาณมากที่สุดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) และจำนวนต้นอ่อนที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อในอาหารสังเคราะห์ที่ใช้สารควบคุมการเจริญเติบโต NAA ร่วมกับ BA ในระดับความเข้มข้นที่ต่างกัน พบว่าปริมาณของสารควบคุมการเจริญเติบโต NAA ในอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อที่เพิ่มขึ้น มีผลทำให้จำนวนของต้นอ่อนที่เกิดใหม่ลดลง (P<0.01). การทดลองเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของอะโกลนีม่าที่ย้ายปลูกจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อในระบบการปลูกแบบไร้ดิน 4 ระบบ คือ Deep Flow Technique, Nutrient Film Technique, Sand culture และ Floating system เป็นระยะเวลา 4 สัปดาห์ พบว่าน้ำหนักเฉลี่ยสุดท้ายเท่ากับ 2.48+0.13, 2.29+0.9, 2.01+0.20 และ 2.46+0.18 กรัมต่อต้น ตามลำดับ ซึ่งการเจริญเติบโตของอะโกลนีม่าที่ปลูกทั้ง 4 ระบบ ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (P>0.05)

  • Micropropagation of Aglaonema simplex was studied by using the combinations of NAA at 0, 1, 2 mg/L and BA at 0, 1, 2 mg/L supplemented in MS media to culture the sterile apical buds. After 6 weeks, it was found that the shoot proliferation from the apical bud explants were significantly enhanced by the addition of BA 2 mg/L in MS media (P<0.05). The increment of NAA supplemented in the media tended to decrease shoot proliferation in Aglaonema simplex in vitro culture (P<0.01). Comparison of Aglaonema simplex growth performance in four-hydroponics culture system, Deep Flow Technique, Nutrient Film Technique, Sand Culture and Floating System during 4-weeks experimental trails resulted in non significant difference (P>0.05) between treatments.

  • [1] นงนุช เลาหะวิสุทธิ์ (สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะเทคโนโลยีการเกษตร ภาควิชาวิทยาศาสตร์การประมง)
    [2] มัลลิกา มิตรน้อย (สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะเทคโนโลยีการเกษตร ภาควิชาวิทยาศาสตร์การประมง)

  • [1] Nongnuch Laohavisuti (King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang, Bangkok (Thailand). Faculty of Agricultural Technology. Department of Fishery Science)
    [2] Mallikha Mitrnoi (King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang, Bangkok (Thailand). Faculty of Agricultural Technology. Department of Fishery Science)

1,160 236

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

นงนุช เลาหะวิสุทธิ์ และ มัลลิกา มิตรน้อย. (2548). การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพรรณไม้น้ำอะโกลนีม่า Aglaonema simplex
           กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.


นงนุช เลาหะวิสุทธิ์ และ มัลลิกา มิตรน้อย. "การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพรรณไม้น้ำอะโกลนีม่า Aglaonema simplex".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
           2548.

นงนุช เลาหะวิสุทธิ์ และ มัลลิกา มิตรน้อย. (2548). การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพรรณไม้น้ำอะโกลนีม่า Aglaonema simplex
           กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.