Creative Commons License
  • ความสัมพันธ์ของคุณภาพน้ำคุณภาพดินตะกอน ต่อการเปลี่ยนแปลงชนิดของแพลงก์ตอนพืชในบ่อเลี้ยงกุ้งกุลาดํา

  • Relationships among water quality, sediment quality on the changes of phytoplankton species in black tiger shrimp culture pond

  • เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 43: สาขาประมง สาขาการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

  • Proceedings of 43rd Kasetsart University Annual Conference: Fisheries, Natural Resources and Environmental Economics

  • 43

  • สาขาประมง

  • 2548

  • บุณฑริกา ทองดอนพุ่ม
    เชษฐพงษ์ เมฆสัมพันธ์

  • 974-537-635-3

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
    กระทรวงศึกษาธิการ
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
    สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 43

  • กรุงเทพฯ

  • 1-4 ก.พ. 2548

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 42-49

  • 574 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • P10-ทรัพยากรน้ำ

  • M40-นิเวศวิทยาทางน้ำ

  • F70-อนุกรมวิธานพืช

  • คุณภาพน้ำ;Penaeus monodon;การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ;ตะกอน;คุณภาพ;แพลงก์ตอนพืช;ชนิด

  • Water quality;Penaeus monodon;Aquaculture;Sediment;Quality;Phytoplankton;Species

  • บ่อเลี้ยงกุ้งกุลาดำ;คุณภาพน้ำ;คุณภาพดินตะกอน;แพลงก์ตอนพืช;ชนิด

  • Black Tiger Shrimp;Coastal area

  • การศึกษาคุณภาพน้ำ คุณภาพดินตะกอน และแพลงก์ตอนพืชในบ่อเลี้ยงกุ้งกุลาดำในเขตพื้นที่ชายฝั่งชี้ให้เห็นว่าปัจจัยเหล่านี้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันในสัปดาห์ที่ 8 ซึ่งเป็นช่วงเวลาวิกฤตที่ต้องมีการจัดการอย่างระมัดระวัง จากการตรวจสอบคุณภาพน้ำตลอดระยะเวลาการเลี้ยงกุ้งกุลาดำในบ่อ พบว่า ความเข้มข้นของแอมโมเนียม-ไนโตรเจน (1.71-301.58 micro M) และซิลิเกต-ซิลิคอน (0.20-14.08 micro M) มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงชนิดและปริมาณของแพลงก์ตอนพืช โดยปริมาณแอมโมเนียม-ไนโตรเจนและแพลงก์ตอนพืชมีความสัมพันธ์กับปริมาณคลอโรฟิลล์ เอ (1.34-130.56 micro g/L) อย่างมีนัยสําคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอร์เซ็นต์ ด้านคุณภาพดินตะกอน พบปริมาณน้ำในดินตะกอน (32.29-64.14 เปอร์เซ็นต์) ปริมาณซัลไฟด์รวมในดินตะกอน (0.058-3.149 mg/g-dry weight) และปริมาณสารอินทรีย์รวมในดินตะกอน (41.75-157.15 mg/g-dry weight) มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอร์เซ็นต์ ส่วนการเปลี่ยนแปลงชนิดและปริมาณของแพลงก์ตอนพืชตลอดระยะเวลาการเลี้ยง พบว่า แพลงก์ตอนพืชในกลุ่มไดโนแฟลกเจลเลทเป็นกลุ่มเด่น เช่น Gymnodinium sp. Prorocentrum sp. และ Protoperidinium sp. เป็นต้น มีค่าร้อยละ 89.49-98.59 เปอร์เซ็นต็ของแพลงก์ตอนพืชที่พบตลอดระยะเวลาการเลี้ยง

  • Study on water quality, sediment quality and phytoplankton in Black Tiger Shrimp culturepond of coastal area showed that parameters had instantly change in 8th week. This critical time need more careful management. The results of water quality analysis during culture period showed that ammonium-nitrogen (1.71-301.58 micro M) and silicate-silicon (0.20-14.08 micro M) have influence on the changes of species composition of phytoplankton. The results of correlation analysis of ammoniumnitrogen and phytoplankton had statistic significant at 95 percent with chlorophyll a (1.34-130.56 micro g/L). For sediment quality, it showed that water content of sediment (WC), acid volatile sulfides of sediment (AVS) and total organic matter of sediment (TOM) ranged between 32.29-64.14 percent, 0.058-3.149 mg/gdry weight and 41.75-157.15 mg/g-dry weight, respectively. The parameter of sediment had statistic significant at 95 percent. Species composition of phytoplankton showed that dominant species was dinoflaggellate such as Gymnodinium sp. Prorocentrum sp. and Protoperidinium sp. Dinoflaggellate have 89.49-98.59 percent of phytoplankton during culture period.

  • [1] บุณฑริกา ทองดอนพุ่ม (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน คณะประมง ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล)
    [2] เชษฐพงษ์ เมฆสัมพันธ์ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน คณะประมง ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล)

  • [1] Boontarika Thongdonphum (Kasetsart University. Bangkhen Campus, Bangkok (Thailand). Faculty of Fisheries. Department of Marine Science)
    [2] Shettapong Meksumpun (Kasetsart University. Bangkhen Campus, Bangkok (Thailand). Faculty of Fisheries. Department of Marine Science)

448 168

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

บุณฑริกา ทองดอนพุ่ม และ เชษฐพงษ์ เมฆสัมพันธ์. (2548). ความสัมพันธ์ของคุณภาพน้ำคุณภาพดินตะกอน
           ต่อการเปลี่ยนแปลงชนิดของแพลงก์ตอนพืชในบ่อเลี้ยงกุ้งกุลาดํา
.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.


บุณฑริกา ทองดอนพุ่ม และ เชษฐพงษ์ เมฆสัมพันธ์. "ความสัมพันธ์ของคุณภาพน้ำคุณภาพดินตะกอน
           ต่อการเปลี่ยนแปลงชนิดของแพลงก์ตอนพืชในบ่อเลี้ยงกุ้งกุลาดํา".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
           2548.

บุณฑริกา ทองดอนพุ่ม และ เชษฐพงษ์ เมฆสัมพันธ์. (2548). ความสัมพันธ์ของคุณภาพน้ำคุณภาพดินตะกอน
           ต่อการเปลี่ยนแปลงชนิดของแพลงก์ตอนพืชในบ่อเลี้ยงกุ้งกุลาดํา
.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.