Creative Commons License
  • ศึกษาความเข้มข้นของยาสมุนไพรสกัดออลิกาโนในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อ Escherichia coli ที่แยกได้จากอุจจาระสุกรหลังหย่านมที่มีอาการท้องเสียในฟาร์มเขตเชียงใหม่-ลำพูน ในห้องปฏิบัติการ

  • Study of minimum inhibition concentration of herb extract: Oregano of Escherichia coli from fecal post weaning diarrhea pigs from Chiang Mai-Lumpon farms in vitro

  • เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 43: สาขาสัตวแพทยศาสตร์ สาขาวิทยาศาสตร์

  • Proceedings of 43rd Kasetsart University Annual Conference : Veterinary Medicine, Science

  • 43

  • สาขาสัตวแพทย์

  • 2548

  • ภาณุวัฒน์ แย้มสกุล
    ประภาส พัชนี
    โกษา ปัญญาโกษา
    สมปรียา แสงไฟ
    ดวงพร พิชผล

  • 974-537-591-8

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
    กระทรวงศึกษาธิการ
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
    สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 43

  • กรุงเทพฯ

  • 1-4 ก.พ. 2548

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 34-40

  • 592 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • L70-สัตวแพทยศาสตร์

  • L73-โรคสัตว์

  • สุกร;พืชสมุนไพร;สารสกัดจากพืช;ออริกาโน;อาการท้องเสีย;Escherichia coli;การเติบโต;การยับยั้ง;ฟาร์ม;ประเทศไทย

  • Swine;Drug plants;Plant extracts;Oregano;Diarrhoea;Escherichia coli;Growth;Inhibition;Farms;Thailand

  • สุกร;ยาสมุนไพรสกัด;ออริกาโน;อาการท้องเสีย;อีโคไล;การเจริญเติบโต;การยับยั้ง;ความเข้มข้น;ฟาร์ม;จ.เชียงใหม่;จ.ลำพูน

  • herb extract

  • เชื้ออีโคลัยแยกที่ได้จากอุจจาระสุกรหลังหย่านมอายุเฉลี่ย 28 +- 3 วัน ซึ่งมีอาการท้องเสีย ในฟาร์มเขตเชียงใหม่-ลำพูน 15 ฟาร์ม ทั้งหมด 190 สายพันธุ์ นำมาทดสอบหาค่าระดับความเข้มข้นต่ำที่สุดของยาสมุนไพรสกัดโอลิกาโน ที่สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้ออีโคลัย ด้วยวิธี Agar dilution test ตามมาตรฐานของ National Committee for Clinical Laboratory Standard (NCCLS) พบว่าค่า MIC50 และ MIC90 เท่ากับ 1,800 และ 5,000 ug/ml ตามลำดับ ซึ่งขนาดยาสมุนไพรสกัดที่แนะนำให้ใช้คือ 50,000-100,000 ug/ml โดยจะเห็นได้ว่ามีค่าสูงกว่าระดับความเข้มข้นที่ต่ำที่สุดของยาสมุนไพร ที่สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้ออีโคลัย (MIC50 และ MIC90) ที่ทดสอบได้

  • Total of 190 isolation of Escherichia coli were obtained from fecal of weaned pigs average age 28+-3 days which had diarrhea in Chiang Mai-Lumpon farms. They were tested for the Minimum Inhibition Concentration (MIC) of herb extract, Oregano was bioassayed against the Escherichia coli isolates by Agar Dilution Test follow to National Comittee for Clinical laboratory Standard (NCCLS). MIC50 and MIC90 for herb extract : Oregano were 1,800 and 5,000 ug/ml respectively. Normally the recommendation dose was 50,000-100,000 ug/ml which were grater than the tested MIC50 and MIC90.

  • [1] ภาณุวัฒน์ แย้มสกุล (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะสัตวแพทยศาสตร์ สาขาวิชาคลินิกสัตว์บริโภค)
    [2] ประภาส พัชนี (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะสัตวแพทยศาสตร์ สาขาวิชาคลินิกสัตว์บริโภค)
    [3] โกษา ปัญญาโกษา (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะสัตวแพทยศาสตร์ สาขาวิชาคลินิกสัตว์บริโภค)
    [4] สมปรียา แสงไฟ (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะสัตวแพทยศาสตร์ สาขาวิชาคลินิกสัตว์บริโภค)
    [5] ดวงพร พิชผล (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะสัตวแพทย์ สาขาวิชาสัตวแพทย์สาธารณสุข)

  • [1] Panuwat Yamsakul (Chiang Mai University, Chiang Mai (Thailand). Faculty of Veterinary Medicine. Food Animal Clinic Department)
    [2] Prapas Patchanee (Chiang Mai University, Chiang Mai (Thailand). Faculty of Veterinary Medicine. Food Animal Clinic Department)
    [3] Kosa Punyakosa (Chiang Mai University, Chiang Mai (Thailand). Faculty of Veterinary Medicine. Food Animal Clinic Department)
    [4] Somepreya Sangphi (Chiang Mai University, Chiang Mai (Thailand). Faculty of Veterinary Medicine. Food Animal Clinic Department)
    [5] Duangpon Pichpon (Chiang Mai University, Chiang Mai (Thailand). Faculty of Veterinary Medicine. Veterinary Pubic Health Department)

380 494

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

ภาณุวัฒน์ แย้มสกุล และคนอื่นๆ. (2548).
           ศึกษาความเข้มข้นของยาสมุนไพรสกัดออลิกาโนในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อ Escherichia coli
           ที่แยกได้จากอุจจาระสุกรหลังหย่านมที่มีอาการท้องเสียในฟาร์มเขตเชียงใหม่-ลำพูน ในห้องปฏิบัติการ

           กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.


ภาณุวัฒน์ แย้มสกุล และคนอื่นๆ.
           "ศึกษาความเข้มข้นของยาสมุนไพรสกัดออลิกาโนในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อ Escherichia coli
           ที่แยกได้จากอุจจาระสุกรหลังหย่านมที่มีอาการท้องเสียในฟาร์มเขตเชียงใหม่-ลำพูน ในห้องปฏิบัติการ". 
           กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
           2548.

ภาณุวัฒน์ แย้มสกุล และคนอื่นๆ. (2548).
           ศึกษาความเข้มข้นของยาสมุนไพรสกัดออลิกาโนในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อ Escherichia coli
           ที่แยกได้จากอุจจาระสุกรหลังหย่านมที่มีอาการท้องเสียในฟาร์มเขตเชียงใหม่-ลำพูน ในห้องปฏิบัติการ

           กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.