Creative Commons License
  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
    กระทรวงศึกษาธิการ
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
    สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 43

  • กรุงเทพฯ

  • 1-4 ก.พ. 2548

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 558-564

  • 762 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • H20-โรคพืช

  • Citrullus lanatus;Physalis minima;โรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส;การวินิจฉัยโรค;พีซีอาร์;ดีเอ็นเอ;การเรียงตัวของนิวคลีโอไทด์;ประเทศไทย

  • Citrullus lanatus;Physalis minima;Viroses;Diagnosis;PCR;DNA;Nucleotide sequence;Thailand

  • แตงโม;โทงเทง;ทอสโพไวรัส;การวิฉัยโรค;เทคนิค MULTIPLEX PCR;แอนติซีรัม;ดีเอ็นเอ;ลำดับนิวคลีโอไทด์

  • TOSPOVIRUSES

  • ทำการตรวจวินิจฉัยทอสโพไวรัสด้วยเทคนิค multiplex RT-PCR จากตัวอย่างแตงโม และโทงเทง ที่แสดงอาการใบจุดแผลไหม้ จุดเหลือง ใบด่าง และยอดไหม้ ที่ตรวจพบทอสโพไวรัสด้วยการใช้แอนติซีรั่มต่อ ทอสโพไวรัสซีโรกรุ๊ป IV โดยนำใบพืชมาสกัดอาร์เอ็นเอ แล้วใช้เป็นต้นแบบในการทำปฏิกิริยา multiplex RT-PCR เติมไพรเมอร์ 6 สายที่จำเพาะต่อ nucleocapsid gene (N gene)ของทอสโพไวรัส 4 ชนิด พบว่าดีเอ็นเอที่สังเคราะห์ได้ มี 2 ขนาด คือ 828 และ 990 คู่เบส ในพืชทั้งสองชนิด เมื่อโคลนยีนและวิเคราะห์ลำดับนิวคลีโอไทด์ของดีเอ็นเอ พบว่า ดีเอ็นเอขนาด 828 คู่เบส เป็น N gene ของ watermelon silver mottle virusv(WSMoV)อซึ่งจัดอยู่ใน serogroup IV และ ดีเอ็นเอขนาด 990 คู่เบส ประกอบด้วย N gene ขนาด 840 คู่เบสของไวรัส melon yellow spot tospovirusv(MYSV) ซึ่งยังไม่ได้จัดจำแนก serogroup ลำดับนิวคลีโอไทด์ของไวรัส WSMoV และ MYSV มีความแตกต่างกันมาก (61 เปอร์เซ็นต์ identity) จึงจัดเป็นไวรัสต่างชนิดกัน นับเป็นรายงานครั้งแรกในประเทศไทยที่พบทอสโพไวรัสมากกว่าหนึ่งชนิดเข้าทำลายพืชร่วมกันในธรรมชาติ

  • Diagnosis of tospoviruses in watermelon and Physalis minima showing necrotic leaf spot, yellow leaf spot, mosaic and bud necrosis was studied using multiplex RT-PCR. Plant tissues reacted to the antisera against tospovirus serogroup IV by ELISA technique were subjected to RNA extraction and the obtained RNAs were used as RT-PCR templates. Six strands of primers, corresponding to nucleocapsid gene(N gene) sequences of four species of tospoviruses, were mixed in a reaction to perform multiplex RT-PCR. The amplified DNA products from both plants showed two distinct fragments size of 828 and 990 basepairs. The 828 nucleotides-gene resembles N gene of watermelon silver mottle virus(WSMoV) which belongs to tospovirus serogroup IV. Another 990 nucleotides DNA is N gene of melon yellow spot tospovirus(MYSV), which is still ungrouped. Nucleotide sequences of WSMoV and MYSV are 61 percent identity, indicating that they are different species. This is the first report in Thailand on tospoviruses mixed infection in natural planting field.

  • [1] วิมล สีเทา (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน คณะเกษตร ภาควิชาโรคพืช)
    [2] พิสสวรรณ เจียมสมบัติ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน คณะเกษตร ภาควิชาโรคพืช)
    [3] โสภณ วงศ์แก้ว (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร)
    [4] อรประไพ คชนันทน์ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน หน่วยปฏิบัติการพันธุวิศวกรรมด้านพืช)
    [5] อัญจนา บุญชด (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน หน่วยปฏิบัติการพันธุวิศวกรรมด้านพืช)
    [6] นุชนาถ วารินทร์ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน หน่วยปฏิบัติการพันธุวิศวกรรมด้านพืช)

  • [1] Wimol Seetou (Kasetsart University. Kamphaeng Saen Campus, Nakhon Pathom (Thailand). Faculty of Agriculture. Department of Plant Pathology)
    [2] Pissawan Chiemsombat (Kasetsart University. Kamphaeng Saen Campus, Nakhon Pathom (Thailand). Faculty of Agriculture. Department of Plant Pathology)
    [3] Sopone Wongkaew (Suranaree University of Technology, Nakhon Ratchasima (Thailand). Institute of Agricultural Technology)
    [4] Oraprapai Gajanandana (Kasetsart University. Kamphaeng Saen Campus, Nakhon Pathom (Thailand). Plant Genetic Engineering Unit (BIOTEC))
    [5] Anjana Bhunchoth (Kasetsart University. Kamphaeng Saen Campus, Nakhon Pathom (Thailand). Plant Genetic Engineering Unit (BIOTEC))
    [6] Nuchanard Warin (Kasetsart University. Kamphaeng Saen Campus, Nakhon Pathom (Thailand). Plant Genetic Engineering Unit (BIOTEC))

218 99

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

วิมล สีเทา และคนอื่นๆ. (2548). การตรวจพบทอสโพไวรัสสองชนิดเข้าทำลายพืชร่วมกันในประเทศไทย.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.


วิมล สีเทา และคนอื่นๆ. "การตรวจพบทอสโพไวรัสสองชนิดเข้าทำลายพืชร่วมกันในประเทศไทย".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
           2548.

วิมล สีเทา และคนอื่นๆ. (2548). การตรวจพบทอสโพไวรัสสองชนิดเข้าทำลายพืชร่วมกันในประเทศไทย.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.