Creative Commons License
  • การพัฒนาชีวภัณฑ์เชื้อปฏิปักษ์สายพันธุ์ใหม่ในการควบคุมโรคใบจุดนูนถั่วเหลือง

  • Formulations of new antagonistic bacterial strains for controlling soybean bacterial pustule

  • เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 43: สาขาพืช

  • Proceedings of 43rd Kasetsart University Annual Conference: Plants

  • 43

  • สาขาพืช

  • 2548

  • สุพจน์ กาเซ็ม
    ฉวีวงศ์ สําราญอยู่
    สุดฤดี ประเทืองวงศ์

  • 974-537-591-8

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
    กระทรวงศึกษาธิการ
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
    สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 43

  • กรุงเทพฯ

  • 1-4 ก.พ. 2548

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 70-78

  • 762 หน้า

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • H20-โรคพืช

  • Glycine max;โรคใบจุด;ภาวะปฏิปักษ์;สารป้องกันกำจัดศัตรูพืชจากแบคทีเรีย;การควบคุมโรค;การเก็บรักษา;การอยู่รอด;ประสิทธิภาพ;การควบคุมโดยชีววิธี

  • Glycine max;Spots;Antagonism;Bacterial pesticides;Disease control;Storage;Survival;Efficiency;Biological control

  • ถั่วเหลือง;โรคใบจุดนูน;เชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์;การควบคุมโรค;การเก็บรักษา;ความมีชีวิตรอด;ประสิทธิภาพ;การควบคุมโรคโดยชีววิธี

  • Soybean;antagonistic bacterial;Soybean bacterial pustule

  • การพัฒนาสูตรสำเร็จในการเก็บเชื้อปฏิปักษ์สายพันธุ์ KPS44 KPS46 และ SW01/4 พบว่าสารพาสูตรผงโดโลไมท์ผสมรำละเอียดอัตรา 1:1 และ 1:2 รักษาความมีชีวิตของเชื้อปฏิปักษ์ได้ดีที่สุด เชื้อสายพันธุ์ KPS46 มีประชากรสูงสุดที่ 90 วัน เมื่อเก็บด้วยผงโดโลไมท์ผสมรำละเอียดอัตรา 1:1 ที่อุณหภูมิห้อง (30 องศาเซลเซียส) สายพันธุ์ KPS44 และ SW01/4 มีประชากรสูงสุดเมื่อเก็บด้วยผงโดโลไมท์ผสมรำละเอียด 1:2 ที่อุณหภูมิห้อง และ 4 องศาเซลเซียส ส่วนการเพิ่มปริมาณเชื้อปฏิปักษ์ในสารหมักชนิดต่าง ๆ พบว่าประชากรเชื้อสายพันธุ์ KPS44 สูงสุดเมื่อเลี้ยงในสารหมักสูตรปลาป่นผสมกากน้ำตาล และสูตรปลาป่นผสมกากถั่วเหลืองและกากน้ำตาลตามลำดับ สายพันธุ์ KPS46 และ SW01/4 สามารถเจริญได้ดีในสารหมักสูตรกากถั่วเหลืองผสมกากน้ำตาล ทั้งนี้สารหมักเชื้อปฏิปักษ์สูตรต่าง ๆ ที่เจือจาง 25 เปอร์เซ็นต์ สามารถลดความรุนแรงของโรคใบจุดนูนถั่วเหลืองในสภาพเรือนทดลองได้ดี สารหมักเชื้อสายพันธุ์ KPS46 สูตรปลาป่นผสมกากถั่วเหลืองและกากน้ำตาลลดความรุนแรงของโรคได้ดีที่สุด 85.7 เปอร์เซ็นต์ และไม่แตกต่างทางสถิติกับการควบคุมด้วยสาร copper hydroxide และ การใช้ suspension ของเชื้อปฏิปักษ์แต่ละสายพันธุ์

  • Potential antagonistic bacteria strains KPS44, KPS46, and SW01/4 were determined an optimum condition for preservation in different formulas. Powder formula containing dolomite together with rice bran at 1:1 and 1:2 ratio exhibited high potential for maintaining population density of antagonistic bacteria. Population density of strain KPS44 was highest when stored in dolomite together with rice bran at 1:1 ratio at room temperature for 90 days whereas the population of strains KPS46 and SW01/4 were high in dolomite together with rice bran at 1:2 ratio in both of room temperature (30 deg C) and 4 deg C. Fermented formulas containing fish extract together with molasses, and fish extract together with soybean residue plus molasses were the best for multiplied population of antagonist strain KPS44 where the strains KPS46 and SW01/4 were high population density in formula of soybean residue plus molasses. Most of fermented formulas of antagonistic bacteria decreased bacterial pustule severity when they were applied onto pathogen inoculated soybean plant under greenhouse experiment. Twenty-five percent concentration of fermented formula of fish extract together with soybean residue plus molasses of strains KPS44 highly efficient decreased the disease severity with 85.7 percent and was not differently significant from copper hydroxide and antagonistic bacterial suspension treatments.

  • [1] สุพจน์ กาเซ็ม (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน คณะเกษตร ภาควิชาโรคพืช)
    [2] ฉวีวงศ์ สําราญอยู่ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน คณะเกษตร ภาควิชาโรคพืช)
    [3] สุดฤดี ประเทืองวงศ์ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน คณะเกษตร ภาควิชาโรคพืช)

  • [1] Supot Kasem (Kasetsart University. Bangkhen Campus, Bangkok (Thailand). Faculty of Agriculture. Department of Plant Pathology)
    [2] Chaweewong Samranyoo (Kasetsart University. Bangkhen Campus, Bangkok (Thailand). Faculty of Agriculture. Department of Plant Pathology)
    [3] Sutruedee Prathuangwong (Kasetsart University. Bangkhen Campus, Bangkok (Thailand). Faculty of Agriculture. Department of Plant Pathology)

145 302

Export

  ค้นเพิ่มเติม

สุพจน์ กาเซ็ม. (2548). การพัฒนาชีวภัณฑ์เชื้อปฏิปักษ์สายพันธุ์ใหม่ในการควบคุมโรคใบจุดนูนถั่วเหลือง
           กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.


สุพจน์ กาเซ็ม. "การพัฒนาชีวภัณฑ์เชื้อปฏิปักษ์สายพันธุ์ใหม่ในการควบคุมโรคใบจุดนูนถั่วเหลือง".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
           2548.

สุพจน์ กาเซ็ม. (2548). การพัฒนาชีวภัณฑ์เชื้อปฏิปักษ์สายพันธุ์ใหม่ในการควบคุมโรคใบจุดนูนถั่วเหลือง
           กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.