Creative Commons License
  • สัณฐานวิทยาและกายวิภาคเปรียบเทียบของต้นตอพลับ

  • Comparative morphology and anatomy of Diospyros's root stocks

  • เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 43: สาขาพืช

  • Proceedings of 43rd Kasetsart University Annual Conference: Plants

  • 43

  • สาขาพืช

  • 2548

  • ปรียาภรณ์ ต่อวงศ์
    เสาวณี สุริยาภณานนท์
    วิทยา สุริยาภณานนท์

  • 974-537-591-8

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
    กระทรวงศึกษาธิการ
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
    สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 43

  • กรุงเทพฯ

  • 1-4 ก.พ. 2548

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 53-61

  • 762 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • F30-ปรับปรุงพันธุ์พืช

  • F50-โครงสร้างของพืช

  • Diospyros;พันธุ์;ต้นตอ;กายวิภาคของพืช;เมล็ด;ลำต้น;ใบ

  • Diospyros;Varieties;Rootstocks;Plant anatomy;Seeds;Stems;Leaves

  • พลับ;พันธุ์;ต้นตอ;สัณฐานวิทยา;กายวิภาค;เมล็ด;ลำต้น;ใบ

  • Morphology

  • การศึกษาสัณฐานวิทยาและกายวิภาคเปรียบเทียบของต้นตอพลับ (Diospyros) 5 สายพันธุ์ ได้แก่ เต้าซื่อเหลือง เต้าซื่ออ่างขาง เต้าซื่อดอยปุย บะกล้วยฤาษีอ่างขาง และบะกล้วยฤาษีดอยปุย พบว่า เมล็ดมีผิวเรียบ สีน้ำตาลถึงดำ เมล็ดมีขนาดแตกต่างกัน ลำต้นมีลักษณะตั้งตรง กิ่งแขนงกลม โครงสร้างภายในของลำต้นมีลักษณะการเจริญเติบโตขั้นปฐมภูมิและทุติยภูมิคล้ายกับพืชใบเลี้ยงคู่โดยทั่วไป โดยลำต้นเต้าซื่อดอยปุยมีการเจริญเติบโตมากที่สุด ขณะที่ลำต้น บะกล้วยฤาษีอ่างขางเจริญเติบโตช้าที่สุด การจัดเรียงของ stele จาก collateral bundle เป็น ectophloic siphonostele พบ trichome ในลำต้นบะกล้วยฤาษีอ่างขาง ใบมีรูปลักษณะคล้ายคลึงกัน รูปร่างใบเป็นแบบ obovate ยกเว้นบะกล้วยฤาษีดอยปุยเป็นแบบ ovate ปลายใบเรียวแหลม (acuminate) ยกเว้นบะกล้วยฤาษีอ่างขางพบได้ทั้งแบบ acuminate และ acute โครงสร้างภายในของใบเป็นแบบ bifacial ปากใบแบบ anomocytic อยู่ในระดับเดียวกับเซลล์ข้างเคียง (typical stomata) พบ trichome แบบ unicellular trichome บริเวณเส้นกลางใบของบะกล้วยฤาษีอ่างขางและบะกล้วยฤาษีดอยปุย และ glandular trichome ในชั้นเซลล์ผิวด้านไกลแกน (abaxial) ของบะกล้วยฤาษีอ่างขางและบะกล้วยฤาษีดอยปุย

  • Comparative morphology and anatomy on five varieties of Diospyros's root stocks as, Taosu-Laung,Taosu-Angkang, Taosu-Doipui, Bakluayleusi-Angkang and Bakluayleusi - Doipui were studied. The results revealed that seed coat was smooth and its colot ranged from brown to black. The seed size was quite differ among varieties. The outer structure of stem were erected with cylindrical branches. An internal diagram of stems in the primary and secondary stage of growth similar to the typical tissue systems as in the dicotyledonous plants. The highest growth rate was observed in Taosu-Doipui where as the lowest was observed in Bakluayleusi-Angkang. The stele arrangement with collateral bundles developed into ectophloic siphonostele. Trichomes were found on the epidermis of Bakluayleusi-Angkang's stem. The form of leaves were similary was obovate form Additionally, both leaf forms, acuminate and acute, were observed in Bakluayleusi-Angkang. The cross section of leaf blade revedled the bifacial form. Stomata was anomocytic and typical stomata type was investigated. An unicellular trichome was found on the mid-rib region of Bakluayleusi-Angkang and Bakluayleusi-Doipui whereas the glandular trichome was found on abaxial epidermal of Bakluayleusi-Angkang and Bakluayleusi-Doipui.

  • [1] ปรียาภรณ์ ต่อวงศ์ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาพฤกษศาสตร์)
    [2] เสาวณี สุริยาภณานนท์ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาพฤกษศาสตร์)
    [3] วิทยา สุริยาภณานนท์ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน คณะเกษตร ภาควิชาพืชสวน)

  • [1] Preeyaporn Torwong (Kasetsart University. Bangkhen Campus, Bangkok (Thailand). Faculty of Science. Department of Botany)
    [2] Sawanee Suriyapananont (Kasetsart University. Bangkhen Campus, Bangkok (Thailand). Faculty of Science. Department of Botany)
    [3] Vitaya Suriyapananont (Kasetsart University. Bangkhen Campus, Bangkok (Thailand). Faculty of Agriculture. Department of Horticulture)

471 261

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

ปรียาภรณ์ ต่อวงศ์. (2548). สัณฐานวิทยาและกายวิภาคเปรียบเทียบของต้นตอพลับ.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.


ปรียาภรณ์ ต่อวงศ์. "สัณฐานวิทยาและกายวิภาคเปรียบเทียบของต้นตอพลับ".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
           2548.

ปรียาภรณ์ ต่อวงศ์. (2548). สัณฐานวิทยาและกายวิภาคเปรียบเทียบของต้นตอพลับ.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.