Creative Commons License
  • การศึกษาเปรียบเทียบต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตของอ้อยปลูกในดินเนื้อละเอียดที่มีระยะแถวปลูกต่างกัน

  • Comparative study on the investment and return costs of plant cane grown in fine textured soils at the different row spacings

  • เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 43: สาขาพืช

  • Proceedings of 43rd Kasetsart University Annual Conference: Plants

  • 43

  • สาขาพืช

  • 2548

  • ปราณี สนธิ
    สุรเดช จินตกานนท์
    ผกาทิพย์ จินตกานนท์

  • 974-537-591-8

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
    กระทรวงศึกษาธิการ
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
    สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 43

  • กรุงเทพฯ

  • 1-4 ก.พ. 2548

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 14-21

  • 762 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • E16-เศรษฐศาสตร์การผลิต

  • F01-การผลิตพืช

  • Saccharum officinarum;การผลิต;ต้นทุนในการผลิต;ความสามารถในการทำกำไร;ระยะปลูก;ชนิดดิน;ผลผลิต;คุณภาพ

  • Saccharum officinarum;Production;Production costs;Profitability;Spacing;Soil types;Yields;Quality

  • อ้อย;การผลิต;ต้นทุนการผลิต;ผลตอบแทน;ระยะปลูก;ดินเนื้อละเอียด;ผลผลิต;คุณภาพ

  • Cane;Return;Fine texture soil

  • ได้ทำการศึกษาเพื่อเปรียบเทียบต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตของอ้อยปลูกพันธุ์ LK 92-11 ในชุดดินกำแพงเพชร (Kp:Oxyaquic (Ultic) Haplustalfs) ที่มีเนื้อดินร่วนเหนียว ในพื้นที่เกษตรน้ำฝนบริเวณ บ.ดงบ้านโพธิ์ ต.หัวดง อ.เก้าเลี้ยว จ.นครสวรรค์ ในระหว่างเดือนธันวาคม 2545 ถึง มกราคม 2547 วางแผนการทดลองแบบ randomized complete block ทำ 4 ซ้ำ โดยมีระยะแถวปลูก 3 ระยะ ที่มีการจัดการแถวในทุกช่วงกว้างของล้อรถแทรกเตอร์ (1.65 เมตร) แตกต่างกัน 4 แบบคือ S1= ทุกระยะ 1.65 เมตร มี 1 แถวปลูก (24 ร่อง/ไร่), S2.1 และ S2.2 = ทุกระยะ 1.65 เมตร มี 2 แถวปลูก ระยะห่างระหว่างคู่แถวเป็น 0.45 และ 0.90 เมตร ตามลำดับ (48 ร่อง/ไร่) และ S3 = ทุกระยะ 1.65 เมตร มี 3 แถวปลูก แถวทั้ง 3 ห่างกัน 0.45 เมตร (72 ร่อง/ไร่) โดยทุกตำรับทดลองใส่ปุ๋ยไนโตรเจนเพียงอย่างเดียวที่อัตรา 20 กก.N /ไร่ ผลการทดลองปรากฎว่า ทั้งต้นทุนการผลิตทั้งหมดและรายได้ทั้งหมดจากการปลูกอ้อยในระยะชิดแบบต่าง ๆ ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ แต่จะมีมูลค่าสูงกว่าการปลูกที่ระยะแถวมาตรฐาน (S1:24 ร่อง/ไร่)อย่างเด่นชัด ชุดข้อมูลที่ทำให้ต้นทุนการผลิตทั้งหมดแสดงความแตกต่างดังกล่าวนั้นถูกกำหนดด้วย ค่าใช้จ่ายในการปลูกและเก็บเกี่ยวเป็นสำคัญ สำหรับกำไรสุทธิ กลับพบว่าไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติแต่อย่างใด แม้จำนวนเงินที่เป็นผลต่างเมื่อเทียบกับการปลูกที่ระยะแถวมาตรฐานจะเรียงลำดับเป็นดังนี้ 2,122,1,225 และ 980 บาท/ไร่ หรือคิดเป็นเปอร์เซนต์มีค่าเท่ากับ 67, 39 และ 31 เปอร์เซนต์ที่ระยะแถวปลูก S2.1, S2.2 และ S3 ตามลำดับก็ตาม

  • Comparative study on the investment and return costs for the cultivation of plant cane variety LK 92-11 grown in Kamphaeng Phet soil series of clay loam texture in rainfed area of a farmer in Kao-Liao district, Nakhon - Sawan province during December,2002 to January,2004 was conducted. The experimental design was randomized complete block with four replications. The four treatments, S1 , S2.1, S2.2 and S3 were designed to plant 24, 48, 48 and 72 rows/rai respectively. The distances between rows in these treatments were different such that within the width of 1.65 meters, there was only one row in S1, while in S2.1and S2.2 there were two rows of 0.45 and 0.90 meter apart respectively. In S3, there were three rows in each 1.65 meters with the row gap of 0.45 meter. Moreover only nitrogen fertilizer at the rate of 20 kgN/rai was applied to all treatments.The results revealed that the differences of both total investment costs and the total income from the high planting density treatments were not significant , but they were significantly higher than the costs of standard row spacing (S1 : 24 rows/rai). It was also important to be noted that the investment cost was strongly related to the higher planting and harvesting costs. With respect to the net profit, no statistical difference was found. But in term of cash, there were big differences, i.e. 3,187, 5,310, 4,413 and 4,168 Bahts/rai were obtained from S1, S2.1,S2.2 and S3 respectively.

  • [1] ปราณี สนธิ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน คณะเกษตร ภาควิชาปฐพีวิทยา)
    [2] สุรเดช จินตกานนท์ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน คณะเกษตร ภาควิชาปฐพีวิทยา)
    [3] ผกาทิพย์ จินตกานนท์ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน คณะเกษตร ภาควิชาปฐพีวิทยา)

  • [1] Pranee Sonti (Kasetsart University. Kamphaeng Saen Campus, Nakhon Pathom (Thailand). Faculty of Agriculture. Department of Soils)
    [2] Suradej Jintakanon (Kasetsart University. Kamphaeng Saen Campus, Nakhon Pathom (Thailand). Faculty of Agriculture. Department of Soils)
    [3] Pakatip Jintakanon (Kasetsart University. Kamphaeng Saen Campus, Nakhon Pathom (Thailand). Faculty of Agriculture. Department of Soils)

384 151

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

ปราณี สนธิ. (2548).
           การศึกษาเปรียบเทียบต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตของอ้อยปลูกในดินเนื้อละเอียดที่มีระยะแถวปลูกต่างกัน
           กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.


ปราณี สนธิ.
           "การศึกษาเปรียบเทียบต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตของอ้อยปลูกในดินเนื้อละเอียดที่มีระยะแถวปลูกต่างกัน". 
           กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
           2548.

ปราณี สนธิ. (2548).
           การศึกษาเปรียบเทียบต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตของอ้อยปลูกในดินเนื้อละเอียดที่มีระยะแถวปลูกต่างกัน
           กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.