Creative Commons License
  • การนํากากของเสียมาใช้ประโยชน์แทนที่บางส่วนในการผลิตคอนกรีตบล็อก

  • Utilization of waste as patrial replacement for making concrete block

  • เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 42: สาขาวิทยาศาสตร์ สาขาการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

  • Proceedings of 42nd Kasetsart University Annual Conference: Scinence, Natural Resources and Environmental Economics

  • 42

  • สาขาทรัพยากรธรรมชาติ

  • 2547

  • เพ็ชรพร เชาวกิจเจริญ
    ผุสดี แพทย์นุเคราะห์

  • 974-537-432-6

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
    กระทรวงศึกษาธิการ
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
    สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 42

  • กรุงเทพฯ

  • 3-6 ก.พ. 2547

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 411-418

  • 499 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • Q70-การแปรรูปวัสดุเหลือใช้เกษตร

  • คอนกรีต;การใช้ประโยชน์ของเสีย;ปูนซีเมนต์;ชานอ้อย;การดูดซับ

  • Concrete;Waste utilization;Cement;Bagasse;Adsorption

  • คอนกรีตบล็อก;ชานอ้อย;การผลิต;สมบัติทางกายภาพ

  • Concrete block;Partial replacement

  • งานวิจัยศึกษาการนําซิลิกา-อะลูมินาที่ใช้แล้วและชานอ้อยที่ผ่านการดูดซับสีแล้วมาใช้ประโยชน์เพื่อ การผลิตคอนกรีตบล็อกปูผนัง โดยทําการทดลองศึกษาสมบัติทางกายภาพของตัวอย่างที่กําหนดตามมาตรฐาน คอนกรีตบล็อกปูผนัง เช่น ค่ากําลังรับแรงอัด ความหนาแน่น และความซึมน้ำ ทดลองโดยใช้อัตราส่วนของซิลิกา- อะลูมินาต่อปูนซีเมนต์เท่ากับ 0.25 และอัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสาน 0.50 อัตราส่วนผสมของซีเมนต์ต่อทรายต่อ หินเกร็ดเท่ากับ 1:2:3 โดยแปรค่าอัตราส่วนของชานอ้อยที่ผ่านการดูดซับสีต่อวัสดุประสานที่ 0.5 0.10 0.15 และ 0.20 และระยะเวลาบ่มเป็น 7 14 21 และ 28 วัน ผลการศึกษาพบว่า อัตราส่วนของชานอ้อยที่ผ่านการดูด ซับสีต่อวัสดุประสานที่ 0.15 และระยะเวลาการบ่มเป็น 21 วัน มีความเหมาะสมในการนําไปทําคอนกรีตบล็อกปู ผนังให้ค่ากําลังรับแรงอัดเท่ากับ 7.19 เมกะปาสคาล ผ่านเกณฑ์มาตรฐานผลิตภัณฑ์ที่กําหนด โดยมีความ หนาแน่น 1.98 ก./ลบ.ซม. และมีความซึมน้ำ 12.18 เปอร์เซ็นต์ตามลําดับ

  • This research investigated the utilization of spent silica-alumina and dye adsorbed quarternized-crosslinked bagasse for making hollow concrete blocks. The experiment was performed to determine the physical properties according to standard of hollow concrete block such as compressive strength, density, and absorption. The experiment was performed by using spent silicaalumina/ cementitious binder ratio of 0.25 and 0.5 of water/cement ratio with 1:2:3 of cement : sand : gravel. The experiment was carried out by varying the ratio of dye adsorbed quarternized-crosslinked bagasse to cementitious binder at 0.05, 0.10, 0.15, and 0.20 at 7, 14, 21, and 28 days of curing time. The results found that a suitable condition for making concrete block was reached at the ratio of dye adsorbed quarternized-crosslinked bagasse to cementitious binder equal to 0.15 and 21 days of curing time given compressive strength exceed product's standard, equivalent to 7.19 MPa., furthermore, the density and percent water absorption of the aforementioned concrete block were 1.98 kg/cubic m and 12.18 percent, respectively.

  • [1] เพ็ชรพร เชาวกิจเจริญ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม)
    [2] ผุสดี แพทย์นุเคราะห์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะบัณฑิตวิทยาลัย สหสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สภาวะแวดล้อม)

  • [1] Petchporn Chawakitchareon (Chulalongkorn Univ., Bangkok (Thailand). Faculty of Engineering. Dept. of Environmental Engineering)
    [2] Phussadee Patnukao (Chulalongkorn Univ., Bangkok (Thailand). Graduate School. Inter-Dept. of Environmental Science)

463 162

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

เพ็ชรพร เชาวกิจเจริญ และ ผุสดี แพทย์นุเคราะห์. (2547).
           การนํากากของเสียมาใช้ประโยชน์แทนที่บางส่วนในการผลิตคอนกรีตบล็อก.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย
.


เพ็ชรพร เชาวกิจเจริญ และ ผุสดี แพทย์นุเคราะห์.
           "การนํากากของเสียมาใช้ประโยชน์แทนที่บางส่วนในการผลิตคอนกรีตบล็อก".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย
.
           2547.

เพ็ชรพร เชาวกิจเจริญ และ ผุสดี แพทย์นุเคราะห์. (2547).
           การนํากากของเสียมาใช้ประโยชน์แทนที่บางส่วนในการผลิตคอนกรีตบล็อก.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย
.