Creative Commons License
  • สมรรถภาพการผลิตและคุณภาพซากของลูกโคที่มีการใช้แป้งถั่วเหลืองเป็นโปรตีนเสริมในนมเทียมเพื่อผลิตเนื้อลูกโค

  • Productive performance and carcass quality of veal fed soy flour as protein supplementation in milk replacer

  • เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 42: สาขาสัตว์ สาขาสัตวแพทยศาสตร์

  • Proceedings of 42nd Kasetsart University Annual Conference: Animals, Veterinary Medicine

  • 42

  • สาขาสัตว์

  • 2547

  • ธนาธิป วิใจ
    สมปอง สรวมศิริ
    ไพโรจน์ ศิลมั่น
    สัญชัย จตุรสิทธา

  • 974-537-429-6

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
    กระทรวงศึกษาธิการ
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
    สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 42

  • กรุงเทพฯ

  • 3-6 ก.พ. 2547

  • กรุงเทพฯ

  • p. 55-64

  • 466 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • L02-อาหารสัตว์

  • ลูกโค;อาหารสัตว์แทนนม;แป้งถั่วเหลือง;โปรตีน;ความเป็นไปได้ทางการผลิต;ซากสัตว์;คุณภาพ

  • Calves;Milk replacers;Soybean flour;Proteins;Production possibilities;Carcasses;Quality

  • โค;ลูกโค;นมเทียม;แป้งถั่วเหลือง;โปรตีน;สมรรถภาพการผลิต;คุณภาพซาก

  • Soy flour;Milk replacer;Carcass quality

  • ศึกษาสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพซากลูกโค 5 กลุ่มการทดลองได้แก่ ลูกโคที่ได้รับนมเทียม(กลุ่มควบคุม) ได้รับนมเทียมที่มีแป้งถั่วเหลือง 15 เปอร์เซ็นต์ในสัปดาห์ที่ 4, 6 และ 8 ของการทดลอง และได้รับนมเทียมในเชิงพาณิชย์ตรา Mamamate พบว่าลูกโคกลุ่มที่ได้รับนมเทียมมี สมรรถภาพการผลิตดีกว่ากลุ่มที่ได้รับแป้งถั่วเหลืองด้านคุณภาพซากลักษณะซากโดยทั่วไปได้แก่น้ำหนักฆ่า น้ำหนักซากอุ่น น้ำหนักซากเย็น เปอร์เซ็นต์ซาก ความยาวซากและพื้นที่หน้าตัดเนื้อสันไม่แตกต่างกัน (P มากกว่า 0.05) และเมื่อพิจารณาเปอร์เซ็นต์อวัยวะภายนอกและภายในพบว่าไม่แตกต่างกัน ทางสถิติยกเว้นเปอร์เซ็นต์หนังกระเพาะรวมและลําไส้เล็กการตัดแต่งซากลูกโคแบบไทย พบว่าลูกโคในทุกกลุ่มการทดลองมีเปอร์เซ็นต์เนื้อสันนอก ไหล่ คอ เสือร้องไห้ สะโพก เนื้อปนมัน เศษเนื้อ เนื้อแดงรวม ไขมัน และกระดูกไม่แตกต่างกันทางสถิติ ยกเว้นเปอร์เซ็นต์เนื้อสันในและน่องส่วนการตัด แต่งซากลูกโคแบบสากล พบว่าลูกโคทุกกลุ่มการทดลองมีเปอร์เซ็นต์ชิ้นส่วนต่าง ๆ ไม่แตกต่างกัน (P มากกว่า 0.05) ยกเว้นเปอร์เซ็นต์ขาหน้า (shank) และพื้นอก ( breast) สําหรับส่วนตัดซี่โครงที่ 12 ของลูกโค เมื่อทําการแยกเนื้อ ไขมัน และกระดูกออกจากกัน พบว่าลูกโคกลุ่มควบคุมมีเปอร์เซ็นต์กล้ามเนื้อและไขมัน สูงสุดสําหรับกลุ่มที่ได้รับนมเทียมที่มีแป้งถั่วเหลือง 15 เปอร์เซ็นต์ ในสัปดาห์ที่ 6 ของการทดลองมีเปอร์เซ็นต์กระดูกสูงสุด (P น้อยกว่า 0.05)

  • Study on productive performance and carcass quality of veal calves production fed different of five feed types, namely milk replacer (MR), milk replacer+15 percent of soy flour at 4, 6 and 8 week of trial and mamamate (commercial milk replacer). The result of this study indicated that veal calves receiving milk replacer had better productive performance than soy flour groups. For carcass quality, there was no significant difference among groups in terms of slaughter weight, hot carcass weight, cold weight, dressing percentage, carcass length and loin eye area. The external and internal organs were not significant difference among groups except percentages of skin, stomach and small intestine. For Thai style cutting, no significant difference among the five groups in terms of percentages of longissimus dorsi, chuck, neck, brisket, lump, flank, trim meat, fat and bone (P GT 0.05) were found except percentage of psoas major and fore shank. Further more, the standard cutting of primal cuts was not different (P GT 0.05) except percentages of shank and breast. The 12 th dissection of rib of milk replacer groups had highest percentages of meat and fat but the calves fed with milk replacer+15 percent of soy flour at 6 week of trial had highest percentages of bone. (P LT 0.05)

  • [1] ธนาธิป วิใจ (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะเกษตรศาสตร์ ภาควิชาสัตวศาสตร์)
    [2] สมปอง สรวมศิริ (มหาวิทยาลัยแม่โจ้ คณะผลิตกรรมการเกษตร ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์)
    [3] ไพโรจน์ ศิลมั่น (มหาวิทยาลัยแม่โจ้ คณะผลิตกรรมการเกษตร ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์)
    [4] สัญชัย จตุรสิทธา (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะเกษตรศาสตร์ ภาควิชาสัตวศาสตร์)

  • [1] Thanathip Wichai (Chiang Mai University, Chiang Mai (Thailand). Faculty of Agriculture. Department of Animal Science)
    [2] Sompong Sruamsiri (Maejo University, Chiang Mai (Thailand). Faculty of Agricultural Production. Department of Animal Technology)
    [3] Pirote Silman (Maejo University, Chiang Mai (Thailand). Faculty of Agricultural Production. Department of Animal Technology)
    [4] Sanchai Jaturasitha (Chiang Mai University, Chiang Mai (Thailand). Faculty of Agriculture. Department of Animal Science)

196 129

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

ธนาธิป วิใจ และคนอื่นๆ. (2547).
           สมรรถภาพการผลิตและคุณภาพซากของลูกโคที่มีการใช้แป้งถั่วเหลืองเป็นโปรตีนเสริมในนมเทียมเพื่อผลิตเนื้อลูกโค
           กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย
.


ธนาธิป วิใจ และคนอื่นๆ.
           "สมรรถภาพการผลิตและคุณภาพซากของลูกโคที่มีการใช้แป้งถั่วเหลืองเป็นโปรตีนเสริมในนมเทียมเพื่อผลิตเนื้อลูกโค". 
           กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย
.
           2547.

ธนาธิป วิใจ และคนอื่นๆ. (2547).
           สมรรถภาพการผลิตและคุณภาพซากของลูกโคที่มีการใช้แป้งถั่วเหลืองเป็นโปรตีนเสริมในนมเทียมเพื่อผลิตเนื้อลูกโค
           กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย
.