Creative Commons License
  • การปรับปรุงคุณภาพชีวิตของสตรีและเด็กในเขตจังหวัดลพบุรี: กลยุทธการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากผ้าทอมือเพื่อเพิ่มรายได้

  • Improvement of quality of life for women and children in Lopburi province: Strategic development of products from hand woven fabrics for extra income

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 39 สาขาสังคมศาสตร์ สาขาบริหารธุรกิจ สาขาเศรษฐศาสตร์ สาขาศึกษาศาสตร์ สาขาคหกรรมศาสตร์ สาขามนุษยศาสตร์ 5-7 กุมภาพันธ์ 2544

  • Proceedings of the 39th Kasetsart University Annual Conference: Social Sciences, Business Administration, Economics, Education, Home Economics, Humanities

  • 39

  • สาขาคหกรรมศาสตร์

  • 2544

  • สุธีลักษณ์ ไกรสุวรรณ
    ขจีจรัส ภิรมย์ธรรมศิริ
    มณฑารพ จักกะพาก
    ศรันยา เผือกผ่อง

  • 974-553-931-7

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    กระทรวงศึกษาธิการ
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
    ทบวงมหาวิทยาลัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 39

  • กรุงเทพฯ

  • 5-7 ก.พ. 2544

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 347-352

  • 362 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • E80-คหกรรมศาสตร์

  • NATURAL FABRICS;WOMEN;FARMERS;PROCESSING;PRODUCTS;EXTENSION ACTIVITIES

  • ผ้าทอมือ;แม่บ้านเกษตรกร;การพัฒนาผลิตภัณฑ์;ลักษณะพื้นฐานครอบครัว;สภาพการทอผ้าพื้นเมือง;รูปแบบผลิตภัณฑ์;การตัดเย็บผลิตภัณฑ์

  • จากการสำรวจสภาพการทอผ้าเพื่อเป็นแนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าทอมือในการเพิ่มรายได้ของแม่บ้านเกษตรกรหมู่บ้านใหม่ศรีอุบล อำเภอโคกเจริญ จังหวัดลพบุรี พบว่าครัวเรือนส่วนใหญ่มีอาชีพรองคือการทอผ้า ผ้าที่สามารถทอได้ ได้แก่ ผ้ามัดหมี่ ผ้าขิด ผ้าทอลายขัดสีพื้น ลายทางและลายตาราง แต่ประเภทของผลิตภัณฑ์ที่ทำค่อนข้างจำกัดโดยผลิตเฉพาะผ้าซิ่น ผ้าห่มและหมอนขิดสี่เหลี่ยม เมื่อดำเนินการพัฒนาโดยการ 1) ทดลองออกแบบหมอนจากผ้าดังกล่าวและนำเสนอให้กลุ่มแม่บ้านพิจารณา พบว่ากลุ่มแม่บ้านมีความพึงพอใจ และ 2) ดำเนินการฝึกอบรมเรื่องการตัดเย็บหมอน พบว่ากลุ่มแม่บ้านมีความรู้ความเข้าใจและทักษะในระดับดีและมีความพร้อมที่จะนำความรู้ไปปรับใช้ในการผลิตหมอนเพื่อจำหน่ายต่อไป และพอใจการผลิตแบบครบวงจรคือทอผ้าและตัดเย็บด้วยตนเอง ผู้วิจัยมีข้อเสนอว่ากลุ่มสตรีหมู่บ้านนี้ควรได้รับการสนับสนุนให้จัดตั้งกลุ่มผู้ผลิตหมอนแบบต่างๆ จากผ้าทอมือของตนเองเพื่อใช้เป็นอาชีพเสริมต่อไป

  • Preliminary survey was carried out to find the trend in development of products from hand woven fabrics for extra income of housewife group in Ban Mai Sriubon Amphur Cokcharoen, Lopburi Province. It was found that most families did weaving for extra income. The product included Mudmi, Khit and plain weave fabrics with solid color, stripes and plaids. However the produced fabrics limited only to phasin, blankets and pillows. Various designs of pillows made from the fabrics were created and presented to the housewife group, who in turn was satisfied with the products. After attending pillow construction course, the housewife group had gained knowledge and skill at good level. Moreover, they were also ready to adopt this work for earning extra income, and preferred to do both weaving and pillow construction by themselves. The researchers thus suggested that the housewife group should be supported to set up a group for producing various styles of pillows from their own hand woven fabrics for extra income.

  • [1] สุธีลักษณ์ ไกรสุวรรณ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะเกษตร ภาควิชาคหกรรมศาสตร์)
    [2] ขจีจรัส ภิรมย์ธรรมศิริ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะเกษตร ภาควิชาคหกรรมศาสตร์)
    [3] มณฑารพ จักกะพาก (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะเกษตร ภาควิชาคหกรรมศาสตร์)
    [4] ศรันยา เผือกผ่อง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะเกษตร ภาควิชาคหกรรมศาสตร์)

  • [1] Suteelak Kraisuwan (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Agriculture. Department of Home Economics)
    [2] Kajijarus Piromthamsiri (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Agriculture. Department of Home Economics)
    [3] Montharop Chakkaphak (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Agriculture. Department of Home Economics)
    [4] Sarunya Puakpong (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Agriculture. Department of Home Economics)

203 104

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

สุธีลักษณ์ ไกรสุวรรณ และคนอื่นๆ. (2544). การปรับปรุงคุณภาพชีวิตของสตรีและเด็กในเขตจังหวัดลพบุรี:
           กลยุทธการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากผ้าทอมือเพื่อเพิ่มรายได้
.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.


สุธีลักษณ์ ไกรสุวรรณ และคนอื่นๆ. "การปรับปรุงคุณภาพชีวิตของสตรีและเด็กในเขตจังหวัดลพบุรี:
           กลยุทธการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากผ้าทอมือเพื่อเพิ่มรายได้".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.
           2544.

สุธีลักษณ์ ไกรสุวรรณ และคนอื่นๆ. (2544). การปรับปรุงคุณภาพชีวิตของสตรีและเด็กในเขตจังหวัดลพบุรี:
           กลยุทธการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากผ้าทอมือเพื่อเพิ่มรายได้
.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.