Creative Commons License
  • การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อหาพื้นที่เหมาะสมในการปลูกอ้อยในจังหวัดสกลนคร

  • Application of geographic information system in identifying suitable areas, for sugarcane in Sakon Nakhon province

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 39 สาขาสังคมศาสตร์ สาขาบริหารธุรกิจ สาขาเศรษฐศาสตร์ สาขาศึกษาศาสตร์ สาขาคหกรรมศาสตร์ สาขามนุษยศาสตร์ 5-7 กุมภาพันธ์ 2544

  • Proceedings of the 39th Kasetsart University Annual Conference: Social Sciences, Business Administration, Economics, Education, Home Economics, Humanities

  • 39

  • สาขาสังคมศาสตร์

  • 2544

  • จิตติมา รักษา
    มนตรี พิมพ์ใจ
    จริยา ยมเสถียรกุล
    สรยา โฆสิระโยธิน
    ศรีเพ็ญ ดุรงค์เดช

  • 974-553-931-7

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    กระทรวงศึกษาธิการ
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
    ทบวงมหาวิทยาลัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 39

  • กรุงเทพฯ

  • 5-7 ก.พ. 2544

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 145-149

  • 362 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • U40-วิธีการสำรวจ

  • F01-การผลิตพืช

  • SACCHARUM OFFICINARUM;GEOGRAPHICAL INFORMATION SYSTEMS;PLANTING;LAND SUITABILITY;THAILAND

  • อ้อย;ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์;พื้นที่เหมาะสมในการปลูก;จ.สกลนคร

  • การปลูกพืชให้ได้ผลผลิตต่อหน่วยพื้นที่สูง และใช้ต้นทุนการผลิตต่ำ จำเป็นต้องเลือกพื้นที่ที่เหมาะสม การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์จะหาพื้นที่เหมาะสมสำหรับการปลูกอ้อยในจังหวัดสกลนครโดยประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (GIS) ทำการวิเคราะห์ข้อมูลและหาพื้นที่ โปรแกรม GIS ที่ใช้คือ ArcView Version 3.1 การเลือกพื้นที่เหมาะสมจำต้องคำนึงถึงปัจจัยต่างๆ หลายอย่าง เช่น ข้อมูลคุณสมบัติทางกายภาพของดิน ข้อมูลอุตุนิยมวิทยา ขีดจำกัดของการปลูกอ้อย และองค์ประกอบต่างๆ ที่อ้อยต้องการ เป็นต้น ผลการศึกษาได้จัดทำเป็นแผนที่ความเหมาะสมในการปลูกอ้อยซึ่งแยกความเหมาะสมได้ 4 ระดับ คือ ระดับความเหมาะสมมาก ปานกลาง น้อย และไม่เหมาะสม พื้นที่ที่เหมาะสมมากส่วนใหญ่กระจายอยู่ในอำเภอกุดบาก อำเภอสว่างแดนดิน อำเภอพังโคน อำเภอภูพาน อำเภอส่องดาว และอำเภอนิคมน้ำอูน

  • Ultimate purpose in agriculture is spending less agricultural investment and getting higher yields. In approaching the goal, the best suitable area for agriculture is an important element. This study aims to seek suitable areas for sugarcane growing in Sakon Nakhon province. The Geographic Information Systems (GIS) is applied in analyzing data. The GIS software namely ArcView version 3.1 is used here. In choosing suitable agricultural area for sugarcane, several factors are considered. These include soil characteristics, meteorology data, and others. Four levels of suitabilities have been identified. Results of the study are displayed in maps.

  • [1] จิตติมา รักษา (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ ภาควิชาภูมิศาสตร์ สาขาวิชาภูมิศาสตร์การวางแผนการตั้งถิ่นฐานมนุษย์)
    [2] มนตรี พิมพ์ใจ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ ภาควิชาภูมิศาสตร์ สาขาวิชาภูมิศาสตร์การวางแผนการตั้งถิ่นฐานมนุษย์)
    [3] จริยา ยมเสถียรกุล (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ ภาควิชาภูมิศาสตร์ สาขาวิชาภูมิศาสตร์การวางแผนการตั้งถิ่นฐานมนุษย์)
    [4] สรยา โฆสิระโยธิน (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ ภาควิชาภูมิศาสตร์ สาขาวิชาภูมิศาสตร์การวางแผนการตั้งถิ่นฐานมนุษย์)
    [5] ศรีเพ็ญ ดุรงค์เดช (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ ภาควิชาภูมิศาสตร์ สาขาวิชาภูมิศาสตร์การวางแผนการตั้งถิ่นฐานมนุษย์)

  • [1] Chittima Raksa (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Social Science. Department of Geography. Program in Human Settlement Planning Geography)
    [2] Montree Pimjai (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Social Science. Department of Geography. Program in Human Settlement Planning Geography)
    [3] Jariya Yomsatieankul (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Social Science. Department of Geography. Program in Human Settlement Planning Geography)
    [4] Saraya Khosirayothin (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Social Science. Department of Geography. Program in Human Settlement Planning Geography)
    [5] Sripen Durongdej (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Social Science. Department of Geography. Program in Human Settlement Planning Geography)

3,472 794

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

จิตติมา รักษา และคนอื่นๆ. (2544).
           การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อหาพื้นที่เหมาะสมในการปลูกอ้อยในจังหวัดสกลนคร.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.


จิตติมา รักษา และคนอื่นๆ.
           "การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อหาพื้นที่เหมาะสมในการปลูกอ้อยในจังหวัดสกลนคร".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.
           2544.

จิตติมา รักษา และคนอื่นๆ. (2544).
           การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อหาพื้นที่เหมาะสมในการปลูกอ้อยในจังหวัดสกลนคร.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.