Creative Commons License
  • การวิเคราะห์ผลการปฏิบัติการของภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและภาษีเงินได้นิติบุคคล

  • Analyzing performances of the personal income tax and the corporation income tax

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 39 สาขาสังคมศาสตร์ สาขาบริหารธุรกิจ สาขาเศรษฐศาสตร์ สาขาศึกษาศาสตร์ สาขาคหกรรมศาสตร์ สาขามนุษยศาสตร์ 5-7 กุมภาพันธ์ 2544

  • Proceedings of the 39th Kasetsart University Annual Conference: Social Sciences, Business Administration, Economics, Education, Home Economics, Humanities

  • 39

  • สาขาสังคมศาสตร์

  • 2544

  • วรพิทย์ มีมาก

  • 974-553-931-7

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์;กระทรวงศึกษาธิการ;กระทรวงเกษตรและสหกรณ์;กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม;ทบวงมหาวิทยาลัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 39

  • กรุงเทพฯ

  • 5-7 ก.พ. 2544

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 96-101

  • 362 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • PERSONAL INCOME TAX;CORPORATION INCOME TAX;TAX PERFORMANCES;ANALYZING

  • ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา;ภาษีเงินได้นิติบุคคล;การวิเคราะห์ถดถอย;การสร้างรายได้;เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ

  • งานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการปฏิบัติการของภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและภาษีเงินได้นิติบุคคล ทั้งในด้านการสร้างรายได้และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ข้อมูลที่นำมาศึกษา เป็นข้อมูลทุติยภูมิในช่วง พ.ศ.2521-2540 การวิเคราะห์จะจำแนกออกเป็น 3 ช่วงเวลาคือ ช่วง พ.ศ.2521-2540 ช่วง พ.ศ.2521-2530 และช่วง พ.ศ.2531-2540 การวิเคราะห์จะใช้วิธีการจำแนกส่วนของภาษีโดยใช้การวิเคราะห์ถดถอย ผลการศึกษามีดังนี้ 1. ความลอยตัวและความยืดหยุ่นของภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในทุกช่วงเวลามีค่ามากกว่าหนึ่ง แสดงว่าภาษีประเภทนี้มีความสามารถในการสร้างรายได้และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจอยู่ในระดับดี 2. ความลอยตัวและความยืดหยุ่นของภาษีเงินได้นิติบุคคลในระยะยาวมีค่ามากกว่าหนึ่ง แสดงว่า ภาษีประเภทนี้ มีความสามารถในการสร้างรายได้และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจอยู่ในระดับดี อย่างไรก็ตามความสามารถในการสร้างรายได้และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของภาษีนี้ จะมีประสิทธิภาพดีในช่วงแรกมากกว่าช่วงหลัง 3. ความแตกต่างระหว่างความลอยตัวและความยืดหยุ่นของภาษีแต่ละประเภท มีค่อนข้างน้อย แสดงว่า การใช้มาตรการทางภาษีของรัฐบาลยังไม่มีประสิทธิภาพมากเพียงพอ ข้อเสนอแนะ คือ ให้มีการปรับโครงสร้างของภาษีทั้งสองประเภทใหม่ ให้มีการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารภาษีมากขึ้น และการใช้มาตรการทางภาษีควรคำนึงถึงเป้าหมายของการใช้และความเป็นจริงของปัญหาที่ต้องการแก้ไขเป็นหลัก

  • [1] วรพิทย์ มีมาก (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะสังคมศาสตร์)

  • [1] Worapit Meemak (Chiang Mai University, Chiang Mai (Thailand). Faculty of Social Sciences)

412 138

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

วรพิทย์ มีมาก. (2544). การวิเคราะห์ผลการปฏิบัติการของภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและภาษีเงินได้นิติบุคคล
           กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กระทรวงศึกษาธิการ. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
           กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม. ทบวงมหาวิทยาลัย
.


วรพิทย์ มีมาก. "การวิเคราะห์ผลการปฏิบัติการของภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและภาษีเงินได้นิติบุคคล".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กระทรวงศึกษาธิการ. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
           กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม. ทบวงมหาวิทยาลัย
. 2544.

วรพิทย์ มีมาก. (2544). การวิเคราะห์ผลการปฏิบัติการของภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและภาษีเงินได้นิติบุคคล
           กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กระทรวงศึกษาธิการ. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
           กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม. ทบวงมหาวิทยาลัย
.