Creative Commons License
  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
    ทบวงมหาวิทยาลัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 37

  • กรุงเทพฯ

  • 3-5 ก.พ. 2542

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 358-365

  • 401 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • E50-ชนบท

  • FARMERS;SOCIOECONOMIC ENVIRONMENT;FARMING SYSTEMS;THAILAND

  • เกษตรกร;สภาพทางเศรษฐกิจและสังคม;การพัฒนา;ระบบการเกษตรชุมชน;จ.อุบลราชธานี

  • การศึกษาระบบการผลิตการเกษตรของชุมชนเพื่อทราบถึงความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น สาเหตุและผลกระทบ ตลอดจนแนวโน้มในอนาคต เพื่อเป็นแนวทางกำหนดโครงการวิจัยและงานบริการวิชาการแก่สังคม พื้นที่ศึกษาตั้งอยู่รอบมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี พบว่าในระยะ 10 ปีที่ผ่านมามีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ราคาที่ดินมีราคาสูงและมีตลาดแรงงานเพิ่มขึ้น ลักษณะครอบครัวได้เปลี่ยนจากครอบครัวประกอบเป็นครอบครัวเดี่ยวมากขึ้น จำนวนพื้นที่การเกษตรและแรงงานต่อครอบครัวลดลง ทุกครอบครัวต้องการปลูกข้าวให้เพียงพอต่อการบริโภค จำแนกเกษตรกรได้ 3 ประเภทคือ ก.ทำนาอย่างเดียว มีข้าวพอกินหรือไม่พอกินบางปี และไม่สามารถพึ่งตนเองจากการเกษตรได้ ต้องอาศัยรายได้จากนอกภาคการเกษตรเป็นหลัก ข.ทำนาอย่างเดียว มีข้าวพอกินแต่ไม่สามารถพึ่งตนเองจากภาคการเกษตรและอาศัยรายได้นอกภาคการเกษตรมากกว่าครึ่งหนึ่งของรายได้ และ ค. ทำนาและประกอบอาชีพการเกษตรหลายอย่าง มีข้าวพอกินและพึ่งตนเองจากภาคการเกษตร มีรายได้จากนอกภาคการเกษตรมาเสริมบ้างเล็กน้อย สำหรับในด้านการพัฒนาอาชีพ เกษตรกรประเภท ก.และข. ควรพัฒนาฝีมือแรงงานและหัตถกรรมในครัวเรือนควบคู่ไปกับการเลี้ยงสัตว์ ส่วนประเภท ค. ควรสนับสนุนกิจกรรมการเกษตรที่ใช้พื้นที่น้อยและอัตราเสี่ยงต่ำ เช่น การเกษตรแบบผสมผสาน

  • Project studied the agricultural systems in villages surrounding Ubon Ratchathani University, the changes and factors affecting them and future trends. The findings of this study can be used for research planning and project development for small-scale farms. Results showed that during the last decade, the area developed rapidly, resulting in higher land prices and employment opportunities. Many changes also occurred among families, sub-dividing their property into small plots for each family member. Each household wanted to grow rice both for home consumption. Farmers can be grouped according to the existing agricultural systems, namely: Group I don't produce enough rice for home consumption and the main source of cash is from off-farm incomeGroup II can produce enough for home consumption and have excess to sell, and more than 50 percent of their cash comes from off-farm incomeand Group III can produce enough for home consumption and the major source of income is from on-farm production. It is recommended that farmers in the first 2 groups should be provide with skills to develop other activities such as handicraft and animal production. Farmers in the 3rd group should be encouraged to adopt intensive and low-risk farm activities, such as integrated farming.

  • [1] เกรียงไกร โชประการ (มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะเกษตรศาสตร์)
    [2] นิตยา วานิกร (มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะเกษตรศาสตร์)
    [3] ณรงค์ สามารถ (มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะเกษตรศาสตร์)
    [4] พิทักษ์ สิงห์ทองลา (มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะเกษตรศาสตร์)
    [5] รักเกียรติ แสนประเสริฐ (มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะเกษตรศาสตร์)
    [6] ชำนาญ แก้วมณี (มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะเกษตรศาสตร์)

  • [1] Kriengkrai Choprakarn (Ubon Rajathanee University, Ubon Ratchathani (Thailand). Faculty of Agriculture)
    [2] Nittaya Wanikorn (Ubon Rajathanee University, Ubon Ratchathani (Thailand). Faculty of Agriculture)
    [3] Narong Samart (Ubon Rajathanee University, Ubon Ratchathani (Thailand). Faculty of Agriculture)
    [4] Pitak Singtongla (Ubon Rajathanee University, Ubon Ratchathani (Thailand). Faculty of Agriculture)
    [5] Rakkiat Sanprasert (Ubon Rajathanee University, Ubon Ratchathani (Thailand). Faculty of Agriculture)
    [6] Chamnan Kaewmani (Ubon Rajathanee University, Ubon Ratchathani (Thailand). Faculty of Agriculture)

388 98

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

เกรียงไกร โชประการ และคนอื่นๆ. (2542). การศึกษาระบบการเกษตรของชุมชนเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสม
           กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.


เกรียงไกร โชประการ และคนอื่นๆ. "การศึกษาระบบการเกษตรของชุมชนเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสม".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
. 2542.

เกรียงไกร โชประการ และคนอื่นๆ. (2542). การศึกษาระบบการเกษตรของชุมชนเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสม
           กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.