Creative Commons License
  • การปรับปรุงการเลี้ยงสัตว์ในชนบทเพื่อเสริมรายได้ให้กับเกษตรกร

  • Improvement of animal production in the rural supplement income of farmers

  • เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 37: สาขาพืช สาขาส่งเสริมนิเทศศาสตร์เกษตร

  • Proceedings of 37th Kasetsart University Annual Conference: Plant, Agricultural Extension and Communication

  • 37

  • สาขาส่งเสริมการเกษตร

  • 2542

  • อรทัย ไตรวุฒานนท์
    บุญมา โรจนดิษฐ์
    อรรณนพ จันทร์อุปรี
    อรพินท์ จินตสถาพร

  • 974-553-634-2

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
    ทบวงมหาวิทยาลัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 37

  • กรุงเทพฯ

  • 3-5 ก.พ. 2542

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 353-357

  • 401 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • C20-การส่งเสริม

  • L01-การผลิตสัตว์

  • FARMERS;LAYER CHICKENS;EGG PRODUCTION;EXTENSION ACTIVITIES

  • เกษตรกร;ไก่ไข่;การส่งเสริม;การเลี้ยง

  • การส่งเสริมและการสาธิตการเลี้ยงสัตว์ในหมู่บ้านที่ตำบลยางราก อำเภอโคกเจริญ จังหวัดลพบุรี ได้ดำเนินงานตามแนวพระราชดำริโดยยึดหลักการให้ความช่วยเหลือบนพื้นฐานการช่วยเหลือตนเองของเกษตรกร โดยให้กรรมการหมู่บ้านจัดเก็บค่าตัวสัตว์ เพื่อใช้เป็นทุนสนับสนุนงานด้านการเลี้ยงสัตว์ในหมู่บ้าน การดำเนินการส่งเสริมเริ่มตั้งแต่ปี 2537 - 2539 โดยการคัดเลือกเกษตรกรที่สนใจงานด้านการเลี้ยงสัตว์ไก่ไข่ในปี พ.ศ.2537, 2538 และ 2539 จำนวน 10, 11 และ 22 รายตามลำดับ ในแต่ละปีเกษตรกรได้รับไก่ไข่ครอบครัวละ 20, 20 และ 50 ตัวตามลำดับ พร้อมอุปกรณ์การเลี้ยงไก่ไข่และอาหารไก่ นอกจากนี้มีการสาธิตการเลี้ยงไก่ไข่ ไก่พ่อ-แม่พันธุ์ และการฟักไข่ ที่สถานีวิจัยลพบุรี เพื่อผลิตลูกไก่เพื่อใช้ในการดำเนินงานของโครงการฯในการส่งเสริมการเลี้ยงไก่ในหมู่บ้านต่างๆ รอบสถานีต่อไป ผลการส่งเสริมการเลี้ยงไก่ไข่ในหมู่บ้าน ได้ผลผลิตค่อนข้างดีตามสภาพการเลี้ยง ปัญหาและอุปสรรคที่พบคือ หมู่บ้านอยู่ห่างจากตลาด ไม่สะดวกในการซื้อหัวอาหาร ราคาอาหารสัตว์มีการปรับตัวสูงขึ้น ส่วนการสาธิตเพื่อพัฒนาการเลี้ยงไก่ที่สถานีวิจัยลพบุรี ประสพผลสำเร็จในการจูงใจให้เกษตรกรมีอาชีพเสริมรายได้ และสามารถนำความรู้และเทคโนโลยีที่ได้รับไปพัฒนาการเลี้ยงสัตว์ของตนเองได้เป็นอย่างดี

  • To demonstrate and encourage animal farming in rural areas, a farming project aimed to train farmers who were willing to have a try on animal production, was conducted in tambon Yangrak, kokcharoen district, Lopburi province during the year of 1994 to 1996 The project was operated in accordance with His Majesty the King advocacy of the concept of "giving basic help to enable farmers to help themselves". There were 10, 11 and 22, families of interested farmers joined this project in 1994, 1995 and 1996 respectively. Each family was provided each year with 20, 20 and 50 laying hens, respectively. All equipment considered necessary was also provided. Moreover, demonstration of appropriate management of laying hens, parent stocks and egg incubation were also held in order to enable farmers to produce more chicks locally in the future which will help extend animal farming in the area of this project, The result obtained from this project was considered reasonably successful. However, the problem is that their farms are rather far form densely inhabited localities which is a cause of inconvenience for them to buy the animal feed. Additionally, a recent trend of sharp increase in cost of the animal feed will certainly have an adverse effect on the farmer's enthusiasm for rearomg far animals.

  • [1] อรทัย ไตรวุฒานนท์ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะเกษตร ภาควิชาสัตวบาล)
    [2] บุญมา โรจนดิษฐ์ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)
    [3] อรรณนพ จันทร์อุปรี (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)
    [4] อรพินท์ จินตสถาพร (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะประมง ภาควิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ)

  • [1] Oratai Triwutanon (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Agriculture. Department of Animal Science)
    [2] Boonma Rorjanadit (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Kasetsart University Research and Development Institute)
    [3] Aunop Chantaraoupari (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Kasetsart University Research and Development Institute)
    [4] Orapint Jintasataporn (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Fisheries. Department of Aquaculture)

216 545

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

อรทัย ไตรวุฒานนท์ และคนอื่นๆ. (2542). การปรับปรุงการเลี้ยงสัตว์ในชนบทเพื่อเสริมรายได้ให้กับเกษตรกร
           กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.


อรทัย ไตรวุฒานนท์ และคนอื่นๆ. "การปรับปรุงการเลี้ยงสัตว์ในชนบทเพื่อเสริมรายได้ให้กับเกษตรกร".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
. 2542.

อรทัย ไตรวุฒานนท์ และคนอื่นๆ. (2542). การปรับปรุงการเลี้ยงสัตว์ในชนบทเพื่อเสริมรายได้ให้กับเกษตรกร
           กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.