Creative Commons License
  • ความชุกของแอนติบอดีต่อเชื้อ Orientia tsutsugamushi ในสุนัขตามชายแดนไทย-พม่า ประเทศไทย

  • Prevalence of antibody to Orientia tsutsugamushi in dogs along Thai-Myanmar border, Thailand

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 37 บทคัดย่อ 3-5 กุมภาพันธ์ 2542

  • Proceedings of the 37th Kasetsart University Annual Conference: Abstracts

  • 37

  • สาขาสัตวแพทย์

  • 2542

  • มงคล เจนจิตติกุล
    เดชา แปงใจ
    ไพจิตร์ วราชิต

  • 974-553-560-5

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
    ทบวงมหาวิทยาลัย

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 116

  • 389 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • L73-โรคสัตว์

  • DOGS;ANIMAL DISEASES;MORBIDITY;ANTIBODIES;THAILAND

  • สุนัข;โรคสครับไทฟัส;ORIENTIA TSUTSUGAMUSHI;แอนติบอดี;ระบาดวิทยา

  • ได้ทำการตรวจหาแอนติบอดีต่อเชื้อ Orientia tsutsugamushi ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคสครับไทฟัสจาก ซีรั่มสุนัขที่เก็บจาก 10 จังหวัดตามชายแดนไทย-พม่าเมื่อปี พ.ศ.2540 จำนวน 397 ตัวอย่าง โดยวิธี IFA พบว่ามีแอนติบอดีต่อโรคสครับไทฟัสเท่ากับ 39.80 เปอร์เซ็นต์ ความชุกของแอนติบอดีในแต่ละจังหวัดมีความแตกต่างกันตั้งแต่ 21.43-62.16 เปอร์เซ็นต์ จังหวัดทางภาคเหนือจะมีความชุกของแอนติบอดีสูงสุดถึง 58.67 เปอร์เซ็นต์ ในขณะที่จังหวัดทางภาคใต้มีความชุกของแอนติบอดีต่ำสุดคือ 24.09 เปอร์เซ็นต์ ค่ามัชฌิมเรขาคณิตของระดับภูมิคุ้มกัน (Geometric mean titer, GMT) ของซีรั่มสุนัขเท่ากับ 1:194 โดยมีความแตกต่างกันตั้งแต่ 1:100 ถึง 1:594 จังหวัดเชียงรายมีค่า GMT สูงสุดคือ 1:594 และจังหวัดชุมพรมีค่า GMT ต่ำสุดคือ 1:594

  • Three hundred and ninety seven dog sera collected from ten provinces along Thai-Myanmar border in 1997 were tested for antibody to Orientia tsutsugamushi by Indirect Fluorescent Antibody test (IFA). The antibody to scrub typhus in all provinces was 39.80 percent. The prevalence suggesting scrub typhus antibody varied by provinces (range 21.43-62.16 percent). Northern provinces were the highest, with a prevalence of 58.67 percent and Southern provinces were the lowest, with a prevalence of 24.09 percent. Geometric mean titer (GMT) of dog sera were 1:194 (range 100-594). GMT of Chiengrai province was the highest (1:594) and Chumphon province was the lowest (1:100).

  • [1] มงคล เจนจิตติกุล (กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข)
    [2] เดชา แปงใจ (กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข)
    [3] ไพจิตร์ วราชิต (กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข)

  • [1] Mongkol Chenchittikul (Department of Medical Sciences, Bangkok (Thailand). National Institute of Health)
    [2] Decha Pangjai (Department of Medical Sciences, Bangkok (Thailand). National Institute of Health)
    [3] Paijit Varachit (Department of Medical Sciences, Bangkok (Thailand). National Institute of Health)

300 147

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

มงคล เจนจิตติกุล. (2542). ความชุกของแอนติบอดีต่อเชื้อ Orientia tsutsugamushi ในสุนัขตามชายแดนไทย-พม่า ประเทศไทย.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.


มงคล เจนจิตติกุล. "ความชุกของแอนติบอดีต่อเชื้อ Orientia tsutsugamushi ในสุนัขตามชายแดนไทย-พม่า ประเทศไทย".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
. 2542.

มงคล เจนจิตติกุล. (2542). ความชุกของแอนติบอดีต่อเชื้อ Orientia tsutsugamushi ในสุนัขตามชายแดนไทย-พม่า ประเทศไทย.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.