Creative Commons License
  • ความพึงพอใจที่มีต่อผลิตภัณฑ์จากผ้าจกราชบุรี

  • Preferences on products from Pha Chock of Ratchaburi

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 34 สาขาวิทยาศาสตร์, วิศวกรรมศาสตร์, อุตสาหกรรมเกษตร, คหกรรมศาสตร์, การจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม, ศึกษาศาสตร์, สังคมศาสตร์, เศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ 30 มกราคม - 1 กุมภาพันธ์ 2539

  • Proceedings of the 34th Kasetsart University Annual Conference: Science, Engineering, Agro-Industry, Home Economics, Resource and Environment Management, Education, Social Science, Economics and Business Administration

  • 34

  • สาขาคหกรรมศาสตร์

  • 2539

  • ลักขณา ธนาวรรณกิจ
    กรรณีย์ ถาวรสุข

  • 974-553-261-4

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
    ทบวงมหาวิทยาลัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 34

  • กรุงเทพฯ

  • 30 ม.ค.-1 ก.พ. 2539

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 213-217

  • 545 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • E80-คหกรรมศาสตร์

  • TEXTILES;DESIGN;USES;THAILAND

  • ผ้าจก;ผลิตภัณฑ์จากผ้า;สินค้าหัตถกรรม;ชนิด;รูปแบบ;ขนาด;การใช้ประโยชน์;ลวดลายผ้า;ความพึงพอใจ;จ.ราชบุรี

  • การศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้สนใจสินค้าหัตถกรรมที่มีต่อชนิดของ ผลิตภัณฑ์จากผ้าจกราชบุรี ที่ทำจากลวดลายที่ใช้ทดสอบ 3 ลาย ด้านรูปแบบ ขนาด ประโยชน์ใช้สอย และความสวยงามเหมาะสมบนผลิตภัณฑ์ชนิดต่างๆ ผลการวิจัยพบว่าชนิดของผลิตภัณฑ์ จากผ้าจกราชบุรีที่มีรูปแบบ ขนาด และประโยชน์ใช้สอย แตกต่างกันจะสร้างความพึงพอใจ ในระดับต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ผ้าจก ลายกาบช้อนหัก เมื่อนำมาทำผลิตภัณฑ์ต่างชนิดกันจะมีผลต่อความพึงพอใจอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และผลของความพึงพอใจในความสวยงามเหมาะสมของลายต่างๆ พบว่า ลายผ้าจก แต่ละลาย ที่นำมาตกแต่งกระเป๋าเอกสาร ซองอเนกประสงค์ ปกสมุดบันทึก จะสร้างความพึงพอใจต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 การนำลายต่างๆ ไปตกแต่งปลอกหมอน และภาพแขวนผนัง มีความพึงพอใจในความสวยงามเหมาะสมไม่แตกต่างกัน

  • Study was aimed to examine the preferences of the customers, who oppreciated handicrafts, towards the products made of three different designs of Pha Chok Ratchaburi. The experiment considered the styles, sizes, practical uses and the appropriate beauty on different products. The result showed that different products, effected the preferences at 0.01 level. Different designs on different products performed different preferences at 0.01 to 0.05 levels. Different designs on briefcases, multi-purpose case and diary covers indicated different preferences at 0.01 level.

  • [1] ลักขณา ธนาวรรณกิจ (สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตโชติเวช)
    [2] กรรณีย์ ถาวรสุข (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะเกษตร ภาควิชาคหกรรมศาสตร์)

  • [1] Lakkhana Thanawannakit (Rajamangala Institute of Technology. Chotivej Campus, Bangkok (Thailand))
    [2] Kannee Thavarasook (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Agriculture. Department of Home Economics)

224 163

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

ลักขณา ธนาวรรณกิจ และ กรรณีย์ ถาวรสุข. (2539). ความพึงพอใจที่มีต่อผลิตภัณฑ์จากผ้าจกราชบุรี.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.


ลักขณา ธนาวรรณกิจ และ กรรณีย์ ถาวรสุข. "ความพึงพอใจที่มีต่อผลิตภัณฑ์จากผ้าจกราชบุรี".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
. 2539.

ลักขณา ธนาวรรณกิจ และ กรรณีย์ ถาวรสุข. (2539). ความพึงพอใจที่มีต่อผลิตภัณฑ์จากผ้าจกราชบุรี.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.