Creative Commons License
  • การปรับตัวทางโครงสร้างของ ไม้เบิกนำ ในป่าชายเลน

  • Structural adaptation of pioneer species in mangrove forest

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 31 สาขาคหกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร เศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ ศึกษาศาสตร์ มนุษยศาสตร์ การจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม 3-6 กุมภาพันธ์ 2536

  • Proceedings of the 31st Kasetsart University Annual Conference: Home Economics, Science, Engineering, Agro-Industry, Economics and Business Administration, Education, Humanities, Natural Resources and Environmental Economics

  • 31

  • สาขาวิทยาศาสตร์

  • 2536

  • เทียมใจ คมกฤส

  • 0858-4583

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
    ทบวงมหาวิทยาลัย

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 106-116

  • 683 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • F50-โครงสร้างของพืช

  • AVICENNIA;SONNERATIACEAE;MANGROVES;CELL STRUCTURE;ROOTS;STEMS;FLOWERS;LEAVES;FRUIT;SEEDS

  • แสมขาว;แสมดำ;ลำพู;โครงสร้างภายนอก;โครงสร้างภายใน;ราก;ลำต้น;ใบ;ดอก;ผล;เมล็ด;ป่าชายเลน

  • ไม้เบิกนำในป่าชายเลนได้แก่ ไม้สกุลแสม (Avicennia spp.) และไม้ลำพู (Sonneratia caseolaris) ซึ่งนอกจากมีการปรับตัวในส่วนต่าง ๆ เช่นเดียวกับไม้ป่าชายเลนอื่น ๆ แล้ว การที่ผลสามารถลอยน้ำไปได้ไกลและมีชีวิตอยู่นาน รวมทั้งเมื่อตั้งตัวได้ก็สามารถจะงอกต้นใหม่ สร้างระบบรากที่ยึดลำต้นได้มั่นคง แม้พื้นดินจะเป็นเลนที่อ่อนตัวมากก็ตาม และยังมีรากหายใจ ช่วยให้สามารถอยู่ได้ในสภาพที่มีน้ำท่วมเป็นเวลานาน นอกจากนี้ระบบท่อลำเลียงของราก ลำต้นและใบ ยังมีการปรับตัวช่วยให้การลำเลียง การสังเคราะห์แสง และการหายใจเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้ไม้ทั้งสองสกุลเป็นไม้โตเร็ว เจริญได้ดีกว่าไม้สกุลอื่น

  • Avicennia spp. and Sonneratia caseolaris are pioneer species of the mangrove forest which have structural adaptations like those in the mangroves themselves. Their buoyancy propagules can float and survive for a long period of time. Once they are able to establish, their germinating seedlings produce not only root system which can anchor even in the very soft mudding substrate, but also pneumatopores which assist the seedlings to survive in inundated soil. Besides, the vacular system in the root, stem, and leaf are adapted for efficient translocation, photosynthesis and respiration. Such qualifications have made these two general fast-growing trees which grow much better than others.

  • [1] เทียมใจ คมกฤส (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาพฤกษศาสตร์)

  • [1] Tiamjai Komkris (Kasetsart Univ., Bangkok (Thailand). Faculty of Science. Dept. of Botany)

825 564

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

เทียมใจ คมกฤส. (2536). การปรับตัวทางโครงสร้างของ ไม้เบิกนำ ในป่าชายเลน.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.


เทียมใจ คมกฤส. "การปรับตัวทางโครงสร้างของ ไม้เบิกนำ ในป่าชายเลน".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
. 2536.

เทียมใจ คมกฤส. (2536). การปรับตัวทางโครงสร้างของ ไม้เบิกนำ ในป่าชายเลน.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.