Creative Commons License
  • เชื้อราที่มีผลต่อการเสื่อมสลายของสีและผลของสารป้องกันกำจัดเชื้อรา ต่อความคงทนต่อเชื้อราของสีในห้องปฏิบัติการตู้จำลองสภาพแวดล้อมและภาคสนาม

  • Fungal species causing deterioration of paint film and effects of fungicides on fungal resistance of paint film in laboratory, environmental chamber and field condition

  • เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 31: สาขาคหกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร เศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ ศึกษาศาสตร์ มนุษยศาสตร์ การจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

  • Proceedings of the 31st Kasetsart University Annual Conference: Home Economics, Science, Engineering, Agro-Industry, Economics and Business Administration, Education, Humanities, Natural Resources and Environmental Economics

  • 31

  • สาขาวิทยาศาสตร์

  • 2536

  • ประสงค์สม ปุณยอุปพัทธ์
    พูนพิไล สุวรรณฤทธิ์
    สาวิตรี ลิ่มทอง
    เลขา มาโนช
    โมรี เค้าครรชิต
    วิสูตร พงศธร

  • 0858-4583

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
    ทบวงมหาวิทยาลัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 31

  • กรุงเทพฯ

  • 3-6 ก.พ. 2536

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 88-105

  • 683 หน้า

  • ไทย

  • สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์

  • เชื้อรา;การเสื่อมสภาพ;สารเคมีป้องกันกำจัดเชื้อรา

  • Fungi;Deterioration;Fungicides

  • สีทาอาคาร;เชื้อรา;การเสื่อมสลาย;สารป้องกันกำจัดเชื้อรา;ความคงทน;ห้องปฏิบัติการ;ตู้จำลองสภาพแวดล้อม;ภาคสนาม

  • ทำการสำรวจและแยกเชื้อบริสุทธิ์จากสีทาอาคารได้ทั้งสิ้น 230 ไอโซเลท จัดจำแนกออกเป็น 20 ยีนัส Aspergillus niger เป็นเชื้อราที่เด่น ศึกษาการเจริญของเชื้อราทั้งหมดบนสารยึด 3 ชนิด ได้แก่ น้ำมันถั่วเหลือง mowilith DM 60 และ mowilith DM 510 P. และผงสี 9 ชนิด ได้แก่ titanium dioxide type III, titanium dioxide type I, aluminium silicate, sodium aluminium silicate, calcium carbonate, copper phathalocyanine, red iron oxide yellow iron oxide และ magnesium silicate. คัดเลือกเชื้อราที่สามารถเจริญบนองค์ประกอบของสีไว้ได้ 69 ชนิด พบว่าเชื้อรา 35 ไอโซเลทสามารถสร้างกรดอินทรีย์ 67 ไอโซเลทสามารถสร้างเอ็นไซม์เซลลูเลสและ 45 ไอโซเลท สามารถทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของรงควัตถุ ทดสอบความสามารถของสารเคมี 6 ชนิดได้แก่ Parmetal DF18, Parmetal DF19, Troysan Polyphase AF-1, Metatin 55-20, Busan 1030 และ Acticide EP ในการป้องกันและกำจัดเชื้อรา พบว่าสาร Troysan polyphase และ Acticide E.P. มีประสิทธิภาพสูงสุดในการยับยั้งการเจริญของเชื้อราที่ความเข้มข้นต่ำสุด 0.5 เปอร์เซ็นต์ ได้ทำการทดลองภาคสนามโดยนำแผ่นไม้ซึ่งทาสีผสมสารป้องกันกำจัดเชื้อราที่คัดเลือก 3 ชนิด อัตราความเข้มข้น 0.5 และ 0.75 เปอร์เซ็นต์ ไปวางในป่าที่จังหวัดกาญจนบุรี และในเมืองที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หลังจาก 6 เดือน พบว่าแผ่นไม้ทุกแผ่นพบการเจริญของเชื้อรา แต่ในปริมาณที่ต่างกัน Troysan polyphase เป็นสารที่ดีที่สุดในการป้องกันการเจริญของเชื้อรา

  • Two hundred and thirty fungal isolates were obtained from deteriorating area of paint films. These isolates were identified into 20 genera. Aspergillus niger was thee dominant species. The isolates were grown on 3 binders and 9 pigments. The binder under study were soybean oil, mowilith DM60 and mowilith DM 510p and the pigments were titanium dioxide type III, titanium dioxide type I, aluminium silicate, sodium aluminium silicate, calcium carbonate, copper phathalocyanine, red iron oxide, yellow iron oxide and magnesium silicate. Sixty nine isolates that grew on the three binders and 9 pigments were selected for further studies. 35 isolates produced organic acid, 67 isolates produced cellulase enzyme and 45 isolates caused pigment alterration. Effects of six fungicides namely, Parmetal DF18, Parmetal DF19 Troysan polyphase AF-1, Metatin 55-20, Busn 1030 and Acticide EP on the growth of tested fungi were investigated by the Poisoned Food Technique, Standard Method of Thai Industrial Standard Institute and Environmental Chamber Condition. Troysan polyphase and Acticide EP were the most efficient fungicides to inhibit fungal growth at 0.5 percent concentration Experiments were also made on effect of three selected fungicides under field condition. Wood boards covered with a mixture of paint film and fungicides at 0.5 and 0.75 percent concentration were placed in the forest at Kanjanaburi and in the town at Kasetsart University. After six months, fungal growth were found in all treaments but with different degree of infection. Troysan polyphase was the best in fungal control.

  • [1] ประสงค์สม ปุณยอุปพัทธ์ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาจุลชีววิทยา)
    [2] พูนพิไล สุวรรณฤทธิ์ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาจุลชีววิทยา)
    [3] สาวิตรี ลิ่มทอง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาจุลชีววิทยา)
    [4] เลขา มาโนช (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะเกษตร ภาควิชาโรคพืช)
    [5] โมรี เค้าครรชิต (บริษัทสีซิกม่า (ประเทศไทย) จำกัด)
    [6] วิสูตร พงศธร (บริษัทสีซิกม่า (ประเทศไทย) จำกัด)

  • [1] Prasongsom Punyauppapath (Kasetsart Universiry, Bangkok (Thailand). Faculty of Science. Department of Microbiology)
    [2] Poonpilai Suwanarit (Kasetsart Universiry, Bangkok (Thailand). Faculty of Science. Department of Microbiology)
    [3] Savitree Limtong (Kasetsart Universiry, Bangkok (Thailand). Faculty of Science. Department of Microbiology)
    [4] Leka Manoch (Kasetsart Universiry, Bangkok (Thailand). Faculty of Agriculture. Department of Plant Pathology)
    [5] Moree Kowkhanchit (Sigma Paints (Thailand) Ltd., Bangkok (Thailand))
    [6] Visoot Pongsathorn (Sigma Paints (Thailand) Ltd., Bangkok (Thailand))

305 359

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

ประสงค์สม ปุณยอุปพัทธ์ และคนอื่นๆ. (2536).
           เชื้อราที่มีผลต่อการเสื่อมสลายของสีและผลของสารป้องกันกำจัดเชื้อรา
           ต่อความคงทนต่อเชื้อราของสีในห้องปฏิบัติการตู้จำลองสภาพแวดล้อมและภาคสนาม
.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.


ประสงค์สม ปุณยอุปพัทธ์ และคนอื่นๆ. "เชื้อราที่มีผลต่อการเสื่อมสลายของสีและผลของสารป้องกันกำจัดเชื้อรา
           ต่อความคงทนต่อเชื้อราของสีในห้องปฏิบัติการตู้จำลองสภาพแวดล้อมและภาคสนาม".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
. 2536.

ประสงค์สม ปุณยอุปพัทธ์ และคนอื่นๆ. (2536).
           เชื้อราที่มีผลต่อการเสื่อมสลายของสีและผลของสารป้องกันกำจัดเชื้อรา
           ต่อความคงทนต่อเชื้อราของสีในห้องปฏิบัติการตู้จำลองสภาพแวดล้อมและภาคสนาม
.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.