Creative Commons License
  • การกำจัดไนโตรเจนและฟอสฟอรัสในน้ำทิ้งด้วยระบบจุลินทรีย์ติดเกาะบนแผ่นตาข่าย

  • Removal of nitrogen and phosphorus in wastewaters by Bio-Net system

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 31 สาขาคหกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร เศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ ศึกษาศาสตร์ มนุษยศาสตร์ การจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม 3-6 กุมภาพันธ์ 2536

  • Proceedings of the 31st Kasetsart University Annual Conference: Home Economics, Science, Engineering, Agro-Industry, Economics and Business Administration, Education, Humanities, Natural Resources and Environmental Economics

  • 31

  • สาขาวิทยาศาสตร์

  • 2536

  • อรุณวรรณ หวังกอบเกียรติ
    นุกูล อินทระสังขา
    วิเชียร ยงมานิตชัย
    หยกแก้ว ยามาลี
    ยงยุทธ เจียมไชยศรี

  • 0858-4583

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์;กระทรวงเกษตรและสหกรณ์;กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม;ทบวงมหาวิทยาลัย

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 45-61

  • 683 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • WASTEWATER;NITROGEN;PHOSPHORUS;WASTEWATER TREATMENT;BIO-NET SYSTEM;EFFICIENCY

  • น้ำทิ้ง;ไนโตรเจน;ฟอสฟอรัส;การกำจัด;ระบบจุลินทรีย์ติดเกาะบนแผ่นตาข่าย

  • ระบบกำจัดน้ำเสียแบบจุลินทรีย์ติดเกาะบนแผ่นตาข่าย หรือระบบ "ไบโอ-เน็ท" นี้เป็นระบบที่ประกอบด้วยถังเติมอากาศสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาด 5.1 ลิตร มีแผ่นตาข่ายสี่เหลี่ยมวางห่างกันอย่างขนานเป็นระยะ ๆ ในแนวดิ่ง และมีท่อให้อากาศสอดอยู่ระหว่างแผ่นตาข่ายเหล่านั้น การกำจัดน้ำทิ้งเป็นแบบต่อเนื่อง อัตราการไหลของน้ำเข้าสู่ระบบ 15 ลิตรต่อวัน น้ำทิ้งมีส่วนประกอบของซีโอดี แอมโมเนีย ไนโตรเจน และฟอสฟอรัสเป็น 500, 100 และ 50 มก./ล. ตามลำดับ การศึกษาแบ่งเป็น 3 ตอน ตอนแรก ได้ศึกษาถึงศักยภาพของระบบขั้นเดี่ยว โดยใช้แผ่นตาข่ายและตัวกลางอื่น ๆ 3 แบบ ตอนที่สอง ใช้ระบบสองขั้น โดยขั้นแรกเพื่อกำจัดซีโอดี และขั้นสองเพื่อกำจัดแอมโมเนียและตอนที่สามทำการคัดเลือกสาหร่ายที่มีประสิทธิภาพในการใช้ไนโตรเจนและฟอสฟอรัสมาทำงานร่วมกับแบคทีเรียไนตริไฟอิง เพื่อช่วยกำจัดแอมโมเนีย, ฟอสฟอรัสและไนเตรต ที่เกิดขึ้นในขั้นตอนที่สองของระบบไบโอ-เน็ท ผลปรากฏว่าการใช้ตัวกลางที่เป็นตาข่ายไนลอนเพียงอย่างเดียวให้ผลในการติดเกาะของจุลินทรีย์ดีที่สุด อย่างไรก็ตามการใช้ระบบขั้นเดี่ยวแม้ซีโอดีลดลงไปกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ ไม่สามารถกำจัดแอมโมเนียและฟอสฟอรัสได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่เมื่อใช้ระบบสองขั้นแบคทีเรียไนตริไฟอิงสามารถกำจัดแอมโมเนียได้เกือบ 100 เปอร์เซ็นต์ และเมื่อใช้สาหร่ายร่วมกับแบคทีเรียไนตริไฟอิงสามารถลดปริมาณไนโตรเจนรวมและฟอสฟอรัสได้เพิ่มขึ้น

  • Bio-Net is a fixed-film biomass system which supporting media were made of nylon net. In this experiment, the paralleied supporting media were placed vertically in a 5.1 litre aeration tank in which air was supplied by diffusers inserted between the media. Wastewater was fed to the reactor at the rate of 151/d continuously; with the influent consisted of 500 mg/l COD, 100 mg/l ammonia nitrogen and 50 mg/l phosphorus. The study was divided into 3 sections. Section 1 was the single stage Bio-Net system where by 3 types of supporting media were compared. Section 2 was the two stage Bio-Net system where the first step was COD removal and the other was nitrification. Section 3, algae were screened for efficiency in removal of nitrogen and phosphorus from the first step effluent (ammonia wastewater) and from the second step effluent (nitrate wastewater) of the two-stage system. The selected alga was cultured simultaneously with nitrifying bacteria in the Bio-Net system. The single layer nylon net was the best for the attachment of microorganisms. Although the single stage could removed COD efficiently, nitrification occurred nearly 100 percent in the second stage. Cultivation of an alga together with nitrifying bacteria improved nitrogen and phosphorus removal.

  • [1] อรุณวรรณ หวังกอบเกียรติ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาจุลชีววิทยา)
    [2] นุกูล อินทระสังขา
    [3] วิเชียร ยงมานิตชัย
    [4] หยกแก้ว ยามาลี
    [5] ยงยุทธ เจียมไชยศรี

  • [1] Arunwon Wungkobkiat (Kasetsart Univ., Bangkok (Thailand). Faculty of Science. Dept. of Microbiology)
    [2] Nugul Intrasungkha
    [3] Wichien Yongmanitchai
    [4] Yokkaow Yamali
    [5] Yongyut Chiemchaisri

453 303

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

อรุณวรรณ หวังกอบเกียรติ และคนอื่นๆ. (2536).
           การกำจัดไนโตรเจนและฟอสฟอรัสในน้ำทิ้งด้วยระบบจุลินทรีย์ติดเกาะบนแผ่นตาข่าย.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม.
           ทบวงมหาวิทยาลัย
.


อรุณวรรณ หวังกอบเกียรติ และคนอื่นๆ.
           "การกำจัดไนโตรเจนและฟอสฟอรัสในน้ำทิ้งด้วยระบบจุลินทรีย์ติดเกาะบนแผ่นตาข่าย".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม.
           ทบวงมหาวิทยาลัย
. 2536.

อรุณวรรณ หวังกอบเกียรติ และคนอื่นๆ. (2536).
           การกำจัดไนโตรเจนและฟอสฟอรัสในน้ำทิ้งด้วยระบบจุลินทรีย์ติดเกาะบนแผ่นตาข่าย.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม.
           ทบวงมหาวิทยาลัย
.