Creative Commons License
  • การเจริญทดแทนของหญ้าทะเลชนิด Halophila ovalis (R. Brown) Hooker f. จากรอยซึ่งเกิดจากการกินของพะยูน

  • Recovery of seagrass (Halophila ovalis) (R. Brown) Hooker f.) after grazing by dugong

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 31 สาขาสัตว์ ประมง สัตวแพทยศาสตร์ 3-6 กุมภาพันธ์ 2536

  • Proceedings of the 31st Kasetsart University Annual Conference: Animal Science, Fisheries and Veterinary Science

  • 31

  • สาขาประมง

  • 2536

  • ชัชรี สุพันธุ์วณิช
    สมหมาย เจนกิจการ

  • 0858-4575

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
    ทบวงมหาวิทยาลัย

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 369-373

  • 686 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • M40-นิเวศวิทยาทางน้ำ

  • GRASSES;AQUATIC PLANTS;DUGONGS;GRAZING;GROWTH;BIOMASS

  • หญ้าทะเล;HALOPHILA OVALIS;ปลาพะยูน;ร่องรอยการกินอาหาร;มวลชีวภาพ;การเจริญทดแทน

  • บริเวณเขาแบนะ จังหวัดตรัง เป็นบริเวณที่พบร่องรอยการกินหญ้าทะเลของพะยูน มีความกว้างประมาณ 14-25 เซนติเมตร ลึกประมาณ 2-4 เซนติเมตร รอยจะมีลักษณะโค้งไปมาหรือเป็นแนวตรง บางช่องมีรอยถูกกินเป็นพื้นที่ประมาณ 1-2 ตารางเมตร การเจริญทดแทนจะเกิดจากหญ้าทะเลรอบรอยเจริญแผ่เข้าไปในรอย ทำให้ขนาดความกว้างของรอยลดลง จากการศึกษาเบื้องต้นโดยการขุดหญ้าทะเลเพื่อเลียนแบบรอยซึ่งเกิดจากการกินหญ้าทะเลของพะยูนในช่วงเดือนเมษายน ถึงเดือนพฤษภาคม พบว่า มวลชีวภาพของหญ้าทะเลบริเวณที่ขุดทำรอยมีค่าระหว่าง 18.12-53.84 กรัมน้ำหนักแห้ง/ตารางเมตร หลังจากขุดหญ้าทะเลออกเป็นเวลา 1 เดือน มวลชีวภาพในรอยขุดมีค่าระหว่าง 0.68-11.48 กรัมน้ำหนักแห้ง/ตารางเมตร และหลังจากทำการทดลองเป็นเวลา 2 เดือน มวลชีวภาพในรอยขุดมีค่าระหว่าง 29.74-46.05 กรัมน้ำหนักแห้ง/ตารางเมตร ซึ่งมีค่าใกล้เคียงกับมวลชีวภาพหญ้าทะเลโดยรอบ คือมีค่าระหว่าง 36.02-45.74 กรัมน้ำหนักแห้ง/ตารางเมตร ดังนั้น การศึกษาเบื้องต้นระหว่างเดือนเมษายนถึงพฤษภาคม อาจสรุปได้ว่า หญ้าทะเลในรอยที่ขุดขึ้นนั้นมีค่ามวลชีวภาพเพิ่มขึ้นจนใกล้เคียงกับมวลชีวภาพของหญ้าทะเลบริเวณโดยรอบภายในระยะเวลา 2 เดือน

  • Dugong is a primary consumer, feeding on seagrass. They dig up and eat the entire plants. The digging activity of grazing dugongs produces trails. At Kao Baena, Changwat Trang, The seagrasses are removed from feeding trails that are 14-25 cm wide, 2-4 cm deep and the shape of trails is surpentine or straight. After being dug by dugong, the seagrass on both sides of the trail extends into the trail renewing the growth. Biomass of entire plants of Halophila ovalis in experimental trails before digging ranged from 18.12-53.84 g (dry weight)/square m. One month later, the range of biomass in experimental trails was 0.68-11.48 g (dry weight)/square m while biomass of seagrass near the trail was 11.32-50.24 g (dry weight)/square m. After 2 months, the range of biomass in experimental trails was 29.74-46.05 g (dry weight)/square m. At the same time, the biomass near the trails was 36.02-45.75 g (dry weight)/square m. This preliminary study shows the biomasses in and near the trails are within the same range after 2 months.

  • [1] ชัชรี สุพันธุ์วณิช (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะประมง ภาควิชาชีววิทยาประมง)
    [2] สมหมาย เจนกิจการ

  • [1] Chatcharee Suphannthavanich (Kasetsart Univ., Bangkok (Thailand). Faculty of Fisheries. Dept. of Fishery Biology)
    [2] Sommai Chenkijkan

325 269

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

ชัชรี สุพันธุ์วณิช และ สมหมาย เจนกิจการ. (2536). การเจริญทดแทนของหญ้าทะเลชนิด Halophila ovalis (R. Brown) Hooker f.
           จากรอยซึ่งเกิดจากการกินของพะยูน
.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.


ชัชรี สุพันธุ์วณิช และ สมหมาย เจนกิจการ. "การเจริญทดแทนของหญ้าทะเลชนิด Halophila ovalis (R. Brown) Hooker f.
           จากรอยซึ่งเกิดจากการกินของพะยูน".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
. 2536.

ชัชรี สุพันธุ์วณิช และ สมหมาย เจนกิจการ. (2536). การเจริญทดแทนของหญ้าทะเลชนิด Halophila ovalis (R. Brown) Hooker f.
           จากรอยซึ่งเกิดจากการกินของพะยูน
.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.