Creative Commons License
  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
    ทบวงมหาวิทยาลัย

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 363-368

  • 686 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • M40-นิเวศวิทยาทางน้ำ

  • DUGONGS;SURVEYS;GEOGRAPHICAL DISTRIBUTION;THAILAND

  • ปลาพะยูน;การสำรวจ;จำนวน;บริเวณแนวหญ้าทะเล;จ.ตรัง

  • พะยูนเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมซึ่งอาศัยอยู่ในทะเล ดำรงชีวิตโดยการกินหญ้าทะเลเป็นอาหาร เนื่องจากพะยูนเป็นสัตว์ที่เคลื่อนไหวได้ช้าและไม่มีอาวุธป้องกันตัว และเนื้อของพะยูนนิยมนำมาเป็นอาหารของคนบางกลุ่ม จึงทำให้ถูกล่าหรือหลงติดอวนได้โดยง่าย เป็นผลทำให้พะยูนมีจำนวนลดลงอย่างรวดเร็ว บริเวณที่ยังพบพะยูนได้ในประเทศไทยคือ บริเวณแนวหญ้าทะลในเขตจังหวัดตรัง การสำรวจพะยูนโดยเฮลิคอปเตอร์ ได้ดำเนินการระหว่างเดือนธันวาคม 2534 ถึงเดือนมิถุนายน 2535 รวม 4 ครั้ง พบพะยูนสูงสุดจำนวน 61 ตัว บริเวณที่พบพะยูนเป็นประจำได้แก่ แนวหญ้าทะเลบริเวณเขาแบนะ เกาะตะลิบง จังหวัดตรัง ปัจจุบันที่มีผลต่อการสำรวจพะยูน ได้แก่ ความเร็วเครื่องบิน ทัศนวิสัย ตำแหน่งดวงอาทิตย์ ปริมาณเมฆ ปริมาณแสง ความเร็วลม ปริมาณคลื่น ความขุ่นของน้ำ และเวลาที่ทำการสำรวจ

  • Dugong is a seagrass feeding marine mammal. Since it swims slowly, has no means of protection and its meat is delicious, it has fallen prey to man. It is also accidentally caught in fish nets. These factors have caused rapid decline of the dugong population. In Thailand at present, the dugong can be found only in the seagrass bed at Changwat Trang. Four surveys were made by helicopter from December 1991 to June 1992 involving Thailand's largest seagrass bed of Changwat Trang and found a maximum number of 61 dugongs. Observation of the seagrass bed at low tide showed feeding trails of the dugongs. The trails were especially clearly observed at Kao Baena region, Had Chao Mai National Park. Factors affecting the survey were helicopter speed, altitude, weather and water conditions.

  • [1] สุวรรณ แซ่อึ้ง (กรมป่าไม้ กองอุทยานแห่งชาติ ฝ่ายวิชาการ)
    [2] วิจารณ์ วิทยศักดิ์
    [3] รัตนา ลักขณาวรกุล
    [4] วิศณุ ฤกษ์วิสาข์
    [5] O'Sullivan, Patrick Sean

  • [1] Suwan Sae Aueng (Department of Royal Forest, Bangkok (Thailand). National Park Division)
    [2] Wijarn Witayasak
    [3] Ratana Lukanawakulra
    [4] Wisanu Rearkwisaka
    [5] O'Sullivan, Patrick Sean

190 335

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

สุวรรณ แซ่อึ้ง และคนอื่นๆ. (2536). การสำรวจพะยูนบริเวณแนวหญ้าทะเล ในเขตจังหวัดตรัง.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.


สุวรรณ แซ่อึ้ง และคนอื่นๆ. "การสำรวจพะยูนบริเวณแนวหญ้าทะเล ในเขตจังหวัดตรัง".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
. 2536.

สุวรรณ แซ่อึ้ง และคนอื่นๆ. (2536). การสำรวจพะยูนบริเวณแนวหญ้าทะเล ในเขตจังหวัดตรัง.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.