Creative Commons License
  • ชนิดและการแพร่กระจายของหญ้าทะเลในประเทศไทย

  • Species and distribution of seagrasses of Thailand

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 31 สาขาสัตว์ ประมง สัตวแพทยศาสตร์ 3-6 กุมภาพันธ์ 2536

  • Proceedings of the 31st Kasetsart University Annual Conference: Animal Science, Fisheries and Veterinary Science

  • 31

  • สาขาประมง

  • 2536

  • กาญจนภาชน์ ลิ่วมโนมนต์
    สุจินต์ ดีแท้
    วิทยา ศรีมโนภาษ
    Ogawa, H.

  • 0858-4575

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
    ทบวงมหาวิทยาลัย

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 344-355

  • 686 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • F70-อนุกรมวิธานพืช

  • M40-นิเวศวิทยาทางน้ำ

  • หญ้า;พืชน้ำ;ชนิด;การแพร่กระจายทางภูมิศาสตร์;อนุกรมวิธาน;ประเทศไทย

  • GRASSES;AQUATIC PLANTS;SPECIES;GEOGRAPHICAL DISTRIBUTION;TAXONOMY;THAILAND

  • หญ้าทะเล;การจำแนกชนิด;อนุกรมวิธาน;ลักษณะ;การแพร่กระจาย;ไทย

  • หญ้าทะเลเป็นแหล่งทรัพยากรทางทะเลที่อุดมสมบูรณ์ โดยเป็นแหล่งอาหาร แหล่งวางไข่ และหลบซ่อนศัตรูของสัตว์น้ำต่างๆ ในปัจจุบันแหล่งหญ้าทะเลได้ถูกทำลาย อันเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้สัตว์น้ำลดปริมาณลง จากการสำรวจชนิดและการแพร่กระจายของหญ้าทะเลในน่านน้ำไทย พบหญ้าทะเล 2 วงศ์ 7 สกุล 12 ชนิด ได้แก่ Cymodocea rotundata, C. serrulata, Halodule pinifolia, H. uninervis, Ruppia maritima และ Syringodium isoetifolium ในวงศ์ Potamogetonaceae ส่วนวงศ์ Hydrocharitaceae ได้แก่ Enhalus acoroides, Halophila beccarii, H. decipiens, H. minor, H. ovalis และ Thalassia hemprichii หญ้าทะเลเหล่านี้พบตั้งแต่บริเวณชายฝั่งที่น้ำท่วมถึงไปจนถึงระดับความลึก 36 เมตร ขึ้นได้ทั้งในที่ซึ่งพื้นเป็นโคลน โคลนปนทราย ทราย และซากปะการัง หญ้าทะเลบางชนิดมีขอบเขตจำกัดในการแพร่กระจาย โดยมีสภาพทางนิเวศเป็นตัวกำหนด ในบรรดาหญ้าทะเลทั้ง 12 ชนิดที่สำรวจพบ ชนิดที่มีการแพร่กระจายสูงสุดได้แก่ Halophila ovalis พบเกือบทุกจังหวัดที่มีเขตติดต่อกับทะเล

  • Seagrass beds are ecologically important to the marine system as food source, place of refuge and spawning and nursery grounds. The depletion of seagrass beds is one of the reasons for the decline of fish population. Studies of species and distribution of seagrasses in Thai waters showed 2 families, 7 genera and 12 species. They are : Cymodocea rotundata, C. serrulata, Halodule pinifolia, H. uninervis, Ruppia maritima and Syringodium isoetifolium belonging to the Family Potamogetonaceae and Enhalus acoroides, Halophila beccarii, H. decipiens, H. minor, H. ovalisand Thalassia hemprichii of the Family Hydrocharitaceae. These seagrasses were found growing in the upper littoral zone down to a depth of 36 meters where the bottoms vary from muddy, muddy sandy, sandy, to broken dead corals or combinations of these. Some species are limited in their distribution due to environmental conditions. Among the twelve species, Halophila ovalis is most widely distributed.

  • [1] กาญจนภาชน์ ลิ่วมโนมนต์ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะประมง)
    [2] สุจินต์ ดีแท้
    [3] วิทยา ศรีมโนภาษ
    [4] Ogawa, H.

  • [1] Khanjanapaj Lewmanomont (Kasetsart Univ., Bangkok (Thailand). Faculty of Fisheries)
    [2] Suchint Deetae
    [3] Vithya Srimanobhas
    [4] Ogawa, Hisao

819 582

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

กาญจนภาชน์ ลิ่วมโนมนต์ และคนอื่นๆ. (2536). ชนิดและการแพร่กระจายของหญ้าทะเลในประเทศไทย.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.


กาญจนภาชน์ ลิ่วมโนมนต์ และคนอื่นๆ. "ชนิดและการแพร่กระจายของหญ้าทะเลในประเทศไทย".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
. 2536.

กาญจนภาชน์ ลิ่วมโนมนต์ และคนอื่นๆ. (2536). ชนิดและการแพร่กระจายของหญ้าทะเลในประเทศไทย.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.