Creative Commons License
  • ปัจจัยที่มีผลต่อการสร้างและการปล่อยสปอร์ของสายใบ (Porphyra vietnamensis Tanaka et Pham-Hoang Ho)

  • Factors affecting the formation and liberation of conchospores of Porphyra vietnamensis Tanaka et Pham-Hoang Ho

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 31 สาขาสัตว์ ประมง สัตวแพทยศาสตร์ 3-6 กุมภาพันธ์ 2536

  • Proceedings of the 31st Kasetsart University Annual Conference: Animal Science, Fisheries and Veterinary Science

  • 31

  • สาขาประมง

  • 2536

  • อรวรรณ จิตต์พูลกุศล
    กาญจนภาชน์ ลิ่วมโนมนต์

  • 0858-4575

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
    ทบวงมหาวิทยาลัย

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 338-343

  • 686 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • M12-การเพาะเลี้ยง

  • F62-การเจริญเติบโตของพืช

  • PORPHYRA;SPORES;SEAWEED AQUACULTURE;SALINITY;TEMPERATURE;LIGHT;GROWTH

  • สาหร่ายสีแดง;สายใบ;การเพาะเลี้ยง;การสร้างสปอร์;การปล่อยสปอร์;ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง

  • จีไฉ่หรือสายใบเป็นสาหร่ายทะเลสีแดง สกุล Porphyra ที่มีคุณค่าทางอาหาร ประกอบด้วยกรดอะมิโนที่จำเป็นหลายชนิด รวมทั้งไวตามิน และเกลือแร่ สามารถนำมาใช้เป็นอาหารทั้งในรูปสาหร่ายสดและแปรรูป ประเทศในเอเซียที่ทำการเพาะเลี้ยงสายใบได้แก่ ญี่ปุ่น จีน และเกาหลี สายใบชนิดที่พบมากในประเทศไทย ได้แก่ Porphyra vietnamensis Tanaka et Pham Hoang Ho พบมากที่จังหวัดสงขลา นอกจากนี้ยังพบที่จังหวัดนราธิวาส ประจวบคีรีขันธ์ พังงา และปัตตานี สายใบชนิดนี้แตกต่างจากสายใบที่ทำการเพาะเลี้ยงกันในต่างประเทศ โดยสร้าง conchosporangial filament โผล่พ้นผิวของเปลือกหอย จากการทดลองเพื่อหาสภาวะเหมาะสมในการสร้างและการปล่อยสปอร์ พบว่าการสร้างสปอร์ดีที่สุดที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส ความเข้มแสง 350-500 lux ความเค็ม 20 ส่วนในพัน และปล่อยสปอร์ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ความเข้มแสง 800-1000 lux ความเค็ม 10-15 ส่วนในพัน

  • Porphyra is a marine red alga which is consumed fresh or as a food component. It contains some essential amino acids, vitamins and minerals. Porphyra culture has been commercially conducted in some Asian countries as Japan, Korea and China. In Thailand Porphyra vietnamensis Tanaka et Pham-Hoang Ho is found at Changwat Songkhla, Narathiwas, Pattani, Pangnga and Prachuap Khiri Khan. Conchosporangium formation of this species is different from other cultivated species. In this species conchosporangial filaments protrude from the shell surface. The optimum conditions for conchospore formation are temperature 30 deg C, salinity 20 ppt and light intensity 350-500 lux. Conchospore release occurs at temperature 25 deg C, salinity 10-15 ppt and light intensity 800-1000 lux.

  • [1] อรวรรณ จิตต์พูลกุศล (กรมประมง ศูนย์พัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง จังหวัดสมุทรสาคร)
    [2] กาญจนภาชน์ ลิ่วมโนมนต์

  • [1] Orawan Chittapoolkusol (Department of Fisheries, Bangkok (Thailand). Samutsakorn Coastal Aquaculture Development Center)
    [2] Khanjanapaj Lewmanomont

226 279

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

อรวรรณ จิตต์พูลกุศล และ กาญจนภาชน์ ลิ่วมโนมนต์. (2536). ปัจจัยที่มีผลต่อการสร้างและการปล่อยสปอร์ของสายใบ (Porphyra
           vietnamensis Tanaka et Pham-Hoang Ho)
.  กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.


อรวรรณ จิตต์พูลกุศล และ กาญจนภาชน์ ลิ่วมโนมนต์. "ปัจจัยที่มีผลต่อการสร้างและการปล่อยสปอร์ของสายใบ (Porphyra vietnamensis
           Tanaka et Pham-Hoang Ho)".  กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
. 2536.

อรวรรณ จิตต์พูลกุศล และ กาญจนภาชน์ ลิ่วมโนมนต์. (2536). ปัจจัยที่มีผลต่อการสร้างและการปล่อยสปอร์ของสายใบ (Porphyra
           vietnamensis Tanaka et Pham-Hoang Ho)
.  กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.