Creative Commons License
  • การกระตุ้นการปล่อยคาร์โปสปอร์ของสาหร่ายวุ้น Gracilaria tenuistipitata Chang and Xia และ G. fisheri (Xia et Abbott) Abbott, Zhang and Xia

  • Stimulation of carpospore liberation in Gracilaria tenuistipitata chang and xia and G. fisheri (Xia et Abbott) abbott, zhang and xia

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 31 สาขาสัตว์ ประมง สัตวแพทยศาสตร์ 3-6 กุมภาพันธ์ 2536

  • Proceedings of the 31st Kasetsart University Annual Conference: Animal Science, Fisheries and Veterinary Science

  • 31

  • สาขาประมง

  • 2536

  • ระพีพร เรืองช่วย
    กาญจนภาชน์ ลิ่วมโนมนต์

  • 0858-4575

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
    ทบวงมหาวิทยาลัย

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 313-319

  • 686 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • M12-การเพาะเลี้ยง

  • F62-การเจริญเติบโตของพืช

  • GRACILARIA;SPORES;STIMULI;SALINITY;TEMPERATURE

  • สาหร่ายวุ้น;CARPOSPORE;การปล่อยสปอร์;การกระตุ้น;การเพาะเลี้ยง

  • จากการศึกษาการกระตุ้นให้มีการปล่อยคาร์โปสปอร์ของสาหร่ายวุ้น 2 ชนิด คือ Gracilaria tenuistipitata Chang & Xia และ G. fisheri (Xia et Abbott) Abbott, Zhang & Xia จากจังหวัดปัตตานี โดยนำชิ้นส่วนทัลลัสยาวประมาณ 0.8-2.1 เซนติเมตร ที่มีซิสโตคาร์พติดอยู่ 1 ซิสโตคาร์พ มาทำการกระตุ้นให้ปล่อยคาร์โปสปอร์ โดยใช้ปัจจัย 3 ประการ ได้แก่ ความเค็ม การผึ่งลม และปัจจัยร่วมระหว่างอุณหภูมิกับความเค็ม ทำการตรวจนับจำนวนสปอร์ดีและเสียที่ปล่อยออกมาทุกวัน ผลปรากฏว่าในสาหร่ายวุ้น G. tenuistipitata นั้น การผึ่งลมมีผลต่อการปล่อยสปอร์มากที่สุด โดยซิสโตคาร์พที่มีการผึ่งลมนาน 15 นาที ที่ความชื้นสัมพัทธ์ 60-72 เปอร์เซ็นต์ ปล่อยสปอร์มากที่สุด 2,068 สปอร์ ใช้เวลาในการปล่อยสปอร์นาน 26 วัน และในสาหร่ายวุ้น G. fisheri พบว่าความเค็มมีผลต่อการปล่อยสปอร์มากที่สุด โดยซิสโตคาร์พที่ถูกกระตุ้นด้วยความเค็ม 25 ppt (ส่วนในพัน) ปล่อยสปอร์มากที่สุดจำนวน 7,865 สปอร์ ใช้เวลาในการปล่อยสปอร์นาน 24 วัน ในขณะที่ปัจจัยร่วมระหว่างอุณหภูมิกับความเค็มมีผลต่อการปล่อยสปอร์สาหร่ายวุ้นทั้งสองชนิดน้อยที่สุด

  • Study of stimulation of carpospore liberation in Gracilaria tenuistipitata Chang & Xia and G. fisheri (Xia et Abbott) Abbott, Zhang & Xia collected from Pattani was conducted. Small fragments of the algate, 0.8-2.1 cm. long, each with one mature cystocarp were prepared for the study. Three factors were used to stimulate carpospore liberation. They were salinity, desiccation and a combination of temperature and salinity. Numbers of discharge carpospores, both living and dead, were counted daily. It was found that in G. tenuistipitata, desiccation stimulated maximum numbers of spore released. The cystocarp containing fragments, exposed for 15 minutes to 60-72 percent relative humidity resulted in greatest spore output, 2,068 within 26 days. In G. fisheri it was found that change in salinity from 28 to 25 ppt caused the greatest carpospore release, 7,665 within 24 days. The combination of temperature and salinity had least influence on spore output by those two species of sporophytic seaweeds.

  • [1] ระพีพร เรืองช่วย (มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
    [2] กาญจนภาชน์ ลิ่วมโนมนต์

  • [1] Rapeeporn Ruangchoy (Prince of Songkla Univ. Pattani Campus, Pattani (Thailand). Faculty of Science and Technology)
    [2] Khanjanapaj Lewmanomont

228 131

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

ระพีพร เรืองช่วย และ กาญจนภาชน์ ลิ่วมโนมนต์. (2536). การกระตุ้นการปล่อยคาร์โปสปอร์ของสาหร่ายวุ้น Gracilaria tenuistipitata Chang and
           Xia และ G. fisheri (Xia et Abbott) Abbott, Zhang and Xia
.  กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.


ระพีพร เรืองช่วย และ กาญจนภาชน์ ลิ่วมโนมนต์. "การกระตุ้นการปล่อยคาร์โปสปอร์ของสาหร่ายวุ้น Gracilaria tenuistipitata Chang and Xia
           และ G. fisheri (Xia et Abbott) Abbott, Zhang and Xia".  กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
. 2536.

ระพีพร เรืองช่วย และ กาญจนภาชน์ ลิ่วมโนมนต์. (2536). การกระตุ้นการปล่อยคาร์โปสปอร์ของสาหร่ายวุ้น Gracilaria tenuistipitata Chang and
           Xia และ G. fisheri (Xia et Abbott) Abbott, Zhang and Xia
.  กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์
           เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ทบวงมหาวิทยาลัย
.