Creative Commons License
  • สภาพการปลูกปาล์มน้ำมันของเกษตรกร อำเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี

  • Oil palm cultivation of farmers, Nong Suea district, Pathum Thani province

  • เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 52: สาขาประมง, สาขาส่งเสริมการเกษตรและคหกรรมศาสตร์

  • Proceedings of 52nd Kasetsart University Annual Conference: Fisheries, Agricultural Extension and Home Economics

  • 52

  • สาขาส่งเสริมการเกษตร

  • 2557

  • ประกอบ จรเจริญ
    สุพัตรา ศรีสุวรรณ

  • 978-616-278-142-1

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
    กระทรวงศึกษาธิการ
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
    สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 52

  • กรุงเทพฯ

  • 4-7 ก.พ. 2557

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 464-471

  • 487 หน้า

  • ไทย

  • สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์

  • F01-การผลิตพืช

  • E90-โครงสร้างสังคมเกษตร

  • Elaeis guineensis;ปาล์มที่ให้น้ำมัน;การปลูก;การจัดการการผลิตพืช;เกษตรกร;การสัมภาษณ์;การรวบรวมข้อมูล;ประเทศไทย

  • Elaeis guineensis;Oil palms;Planting;Crop management;Farmers;Interviews;Data collection;Thailand

  • ปาล์มน้ำมัน;สภาพการปลูก;ความรู้;การดูแลปาล์มน้ำมัน;ผลผลิต;เกษตรกร;การปลูกพืชทดแทน;จ.ปทุมธานี อ.หนองเสือ

  • Elaeis guineensis;Oil palms;Oil palm cultivation;Farmer;Interview;Nong Suea district;Pathum Thani Province

  • วิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคลและสังคม และ ความรู้เกี่ยวกับการปลูกปาล์มน้ำมันของเกษตรกร 2) สภาพการปลูกปาล์มน้ำมันของเกษตรกร ประชากรจำนวน 82 ราย เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) เกษตรกรส่วนมากเป็นเพศชาย มีอายุเฉลี่ย 51 ปี จบการศึกษาระดับประถมศึกษา สมาชิกในครัวเรือน 3-4 คน ประสบการณ์เฉลี่ย 5 ปี ใช้เงินทุนของตนเอง ใช้แรงงานในครอบครัวและแรงงานจ้าง มีขนาดพื้นที่ในการปลูกปาล์มน้ำมันเฉลี่ย 32.5 ไร่ ลักษณะการถือครองที่ดินส่วนมากเป็นกรรมสิทธิ์ของตนเอง มีจำนวนผลผลิตเฉลี่ย 3,015.2 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี เกษตรกรมีความรู้เกี่ยวกับการปลูกปาล์มน้ำมันระดับมาก 2) ส่วนใหญ่ปลูกปาล์มน้ำมันพันธุ์เทเนอรา ซื้อต้นกล้าพันธุ์ปาล์มจากบริษัท มีร่องระบายน้ำในแปลง(ร่องสวนส้มเดิม) ไม่ประเมินความต้องการธาตุอาหาร แต่ใส่ปุ๋ยตามสภาพของปาล์มน้ำมัน ใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ การให้น้ำโดยใช้เรือพ่นน้ำ 4 ครั้งต่อเดือน วิธีการป้องกันกำจัดวัชพืชใช้ แรงงานคนและสารเคมี การเก็บเกี่ยวผลผลิตโดยการสังเกตสีผลและการหลุดร่วงของผลปาล์มน้ำมัน รอบการเก็บเกี่ยว 15 วันต่อรอบ จ้างเหมาในการเก็บเกี่ยวผลผลิต การขนส่งผลผลิตจำหน่ายโดยเรือแล้วใส่รถยนต์ มีบริษัทมารับซื้อในอำเภอหนองเสือ และมีการจำหน่ายในรูปผลปาล์มสดแบบทะลาย ปัญหาที่พบ คือ สภาพดินที่เป็นกรด ปัญหาการผสมติดของเกสรปาล์มน้ำมัน หนูและหนอนหน้าแมวศัตรูปาล์มน้ำมัน ข้อเสนอแนะควรมีการสนับสนุนความรู้การปรับปรุงดิน การป้องกันโรคปาล์มน้ำมัน ประกันราคาผลผลิตปาล์มน้ำมันไม่ต่ำกว่า 5 บาทต่อกิโลกรัม และต้องการให้มีการตั้งโรงงานรับซื้อปาล์มน้ำมันในพื้นที่อำเภอหนองเสือ

  • The objectives of this research were to study: 1) the basic personal, social and circumstances of farmers who grow' oil palm, along with the knowledge that they have about it. 2) the cultivation of oil palm plants. The population of 82 farmers. The data were collected by means interviews. The statistical techniques used in the analysis of the information were percentage, average and standard deviation. The results showed that: 1) most of the farmers were male, with a mean age of 51 years, an elementary education., and a family of 3-4 members. The average amount of experience which they possessed of oil palm farming was 5 years. Most farmers used their own capital. Plantation labor was a mix of family and hired workers. Oil Palm plantations averaged 32.5 rai of land holdings. Most farmers owned their own property. Their average yield per rai was 3,015.2 kg. Farmers demonstrated a high level of knowledge about growing oil palm. 2) the most common variety of palm bred for making oil palm was the Tenera. Seedlings of the oil palm varieties used were planted in fields which were formerly devoted to orange tree cultivation. Farmers did not assess nutritional requirements when making decisions on the use of fertilizer but instead fertilized as the condition of the oil palm warranted. They used chemical fertilizers and organic fertilizers delivered by using a water spray 4 times/month, in order to achieve better growth and increased productivity .The farmers used a combination of methods to deliver herbicides either by chemical spray or by employee application. They controlled for pests and diseases by observing the color and the fall off the oil palm fruit. The harvest took around 15 days per cycle. The transportation used boat and the car. The company has been bought and sold in Nong Sure distric as fresh fruit: 3) there were problems with soil acidity, the mixing of oil palm pollen, and with rats and cats face worms which were oil palm pests. The results of this study, suggest that certain recommendations can be made. Firstly, oil palm farmers should be encouraged to improve their knowledge of soil development and the prevention of palm oil palm pant disease. Secondly, there should be a price guarantee for palm oil output of not less than 5 baht per kilogram. and need to purchase the oil palm mill unit located in Nong Sure district.

  • [1] ประกอบ จรเจริญ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะเกษตร ภาควิชาส่งเสริมและนิเทศศาสตร์เกษตร)
    [2] สุพัตรา ศรีสุวรรณ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะเกษตร ภาควิชาส่งเสริมและนิเทศศาสตร์เกษตร)

  • [1] Prakob Jorncharoen (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Agriculture. Department of Agricultural Extension and Communication)
    [2] Supattra Srisuwan (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Agriculture. Department of Agricultural Extension and Communication)

746 359

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

ประกอบ จรเจริญ และ สุพัตรา ศรีสุวรรณ. (2557). สภาพการปลูกปาล์มน้ำมันของเกษตรกร อำเภอหนองเสือ
           จังหวัดปทุมธานี
.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.


ประกอบ จรเจริญ และ สุพัตรา ศรีสุวรรณ. "สภาพการปลูกปาล์มน้ำมันของเกษตรกร อำเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี". 
           กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
           2557.

ประกอบ จรเจริญ และ สุพัตรา ศรีสุวรรณ. (2557). สภาพการปลูกปาล์มน้ำมันของเกษตรกร อำเภอหนองเสือ
           จังหวัดปทุมธานี
.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.