Creative Commons License
  • การจัดการสวนมะม่วงของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนส่งออกมะม่วง จังหวัดอ่างทอง

  • Management of mango orchards of mango exporting community enterprises group in Ang Thong province

  • เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 52: สาขาประมง, สาขาส่งเสริมการเกษตรและคหกรรมศาสตร์

  • Proceedings of 52nd Kasetsart University Annual Conference: Fisheries, Agricultural Extension and Home Economics

  • 52

  • สาขาส่งเสริมการเกษตร

  • 2557

  • พุทธิพงษ์ จำลอง
    สุรพล เศรษฐบุตร

  • 978-616-278-142-1

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
    กระทรวงศึกษาธิการ
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
    สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 52

  • กรุงเทพฯ

  • 4-7 ก.พ. 2557

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 427-437

  • 487 หน้า

  • ไทย

  • สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์

  • F01-การผลิตพืช

  • E16-เศรษฐศาสตร์การผลิต

  • E20-การบริหาร/ธุรกิจเกษตร

  • Mangifera indica;มะม่วง;สวนไม้ผล;การจัดการ;วิสาหกิจ;การผลิต;การวางแผน;ต้นทุน;การส่งออก;ประเทศไทย

  • Mangifera indica;Mangoes;Orchards;Management;Enterprises;Production;Planning;Costs;Exports;Thailand

  • มะม่วง;สวนมะม่วง;การจัดการ;กลุ่มวิสาหกิจชุมชน;สมาชิกผู้ผลิตมะม่วง;การรวมกลุ่ม;การวางแผนการผลิต;ต้นทุน;การส่งออกมะม่วง;จ.อ่างทอง

  • Mangifera indica;Mango;Management of mango orchards;Enterprises groups;Production planning;Mango production for export;Ang Thong province

  • การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการวางแผนการผลิตมะม่วงส่งออกและต้นทุนที่ใช้ในการผลิตมะม่วงส่งออกของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนส่งออกมะม่วง จังหวัดอ่างทอง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive statistic) ได้แก่ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Arithmetic mean) ค่าสูงสุด (Maximum) ต่ำสุด (Minimum) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) ผลการศึกษาพบว่า การวางแผนการผลิตและต้นทุนที่ใช้ในการผลิต สมาชิกกลุ่มควรให้ความสำคัญต่อการเข้าร่วมประชุมกลุ่มเพื่อหารือการวางแผนการผลิต รวมถึงการจัดตั้งสหกรณ์กลุ่มเพื่อจัดเก็บเงินทุนส่วนกลางและเพิ่มความสามารถในการต่อรองจัดซื้อวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต มากกว่าที่จะทำการผลิตแบบรายเดี่ยวซึ่งอาจได้รับข้อมูลการผลิตไม่ครบถ้วน ขาดความรู้ด้านการเพิ่มปริมาณผลผลิต การลดต้นทุนการผลิต รวมถึงพัฒนาบุคลากรภายในกลุ่มให้มีความเข้มแข็ง ดังนั้นการรวมกลุ่มกันของสมาชิกผู้ผลิตมะม่วงส่งออก จำเป็นต้องอาศัยปัจจัยหลายด้านเพื่อส่งเสริมให้เกิดกระบวนการในการพัฒนาคุณภาพการผลิตให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้และตรงตามความต้องของตลาดส่งออกที่มีการแข่งขันสูงในปัจจุบัน

  • The aim of this research was to study the development plan and the cost of production of mango export of Mango Exporting Community Enterprises groups in Ang Thong Province using descriptive statistics to analyze the data which were percentages, arithmetic mean, maximum, minimum, and standard deviation. The result showed that the members should place importance on group meetings to consult the production planning and costs including the establishment of cooperative groups to develop the members within the group to be strengthened and also to charge the members the common purse to increase the ability to negotiate the purchase of the materials for production rather than to produce as individuals whom might get incomplete production information with lack of knowledge to increase productivity or to reduce production costs. Therefore, the organization of Mango Exporting members required many factors to support the process of developing products' quality to meet the objectives defined by the needs of export market which was highly competitive.

  • [1] พุทธิพงษ์ จำลอง (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะเกษตรศาสตร์ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์และส่งเสริมเผยแพร่การเกษตร)
    [2] สุรพล เศรษฐบุตร (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะเกษตรศาสตร์ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์และส่งเสริมเผยแพร่การเกษตร)

  • [1] Putthipong Jamlong (Chiang Mai University, Chiang Mai (Thailand). Faculty of Agriculture. Department of Agricultural Economics and Agricultural Extension)
    [2] Suraphol Sreshthaputra (Chiang Mai University, Chiang Mai (Thailand). Faculty of Agriculture. Department of Agricultural Economics and Agricultural Extension)

619 779

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

พุทธิพงษ์ จำลอง และ สุรพล เศรษฐบุตร. (2557). การจัดการสวนมะม่วงของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนส่งออกมะม่วง
           จังหวัดอ่างทอง
.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.


พุทธิพงษ์ จำลอง และ สุรพล เศรษฐบุตร. "การจัดการสวนมะม่วงของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนส่งออกมะม่วง
           จังหวัดอ่างทอง".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
           2557.

พุทธิพงษ์ จำลอง และ สุรพล เศรษฐบุตร. (2557). การจัดการสวนมะม่วงของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนส่งออกมะม่วง
           จังหวัดอ่างทอง
.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.