Creative Commons License
  • องค์ประกอบทางเคมีกายภาพบางประการ ปริมาณฟีนอลิกและสมบัติการต้านออกซิเดชันของน้ำอ้อยและสภาวะที่เหมาะสมในการย่อยน้ำตาลซูโครสในน้ำอ้อยด้วยเอนไซม์อินเวอร์เทส

  • Physicochemical composition, phenolic content and antioxidant properties of sugarcane juice and optimum condition for hydrolysis of sucrose in sugarcane juice by invertase

  • เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 51: สาขาส่งเสริมการเกษตรและคหกรรมศาสตร์, สาขาอุตสาหกรรมเกษตร

  • Proceedings of 51st Kasetsart University Annual Conference: Agricultural Extension and Home Economics, Agro-Industry

  • 51

  • สาขาอุตสาหกรรมเกษตร

  • 2556

  • ธนากร มณีฉาย
    ประพันธ์ ปิ่นศิโรดม

  • 978-616-278-070-7

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
    กระทรวงศึกษาธิการ
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
    สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 51

  • กรุงเทพฯ

  • 5-7 ก.พ. 2556

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 115-122

  • 463 หน้า

  • ไทย

  • สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์

  • Q02-การแปรรูปอาหาร

  • Q04-องค์ประกอบอาหาร

  • F60-ชีวเคมีของพืช

  • Saccharum officinarum;อ้อย;น้ำอ้อย;ฟรุคโตฟูราโนซิเดส;สารยับยั้งการรวมตัวของออกซิเจน;ปริมาณสารฟีนอลิค;คุณสมบัติทางเคมีกายภาพ

  • Saccharum officinarum;Sugarcane;Sugarcane juice;Fructofuranosidase;Antioxidants;Phenolic content;Chemicophysical properties

  • อ้อย;พันธุ์สุพรรณบุรี 50;พันธุ์สุพรรณบุรี 60;พันธุ์ขอนแก่น 3;น้ำอ้อย;การย่อยน้ำตาลซูโครส;องค์ประกอบทางเคมีกายภาพ;ฟีนอลิก;สมบัติการต้านออกซิเดชัน;เอนไซม์อินเวอร์เทส

  • Sugarcane;Suphanburi 50;Suphanburi 60;Khonkaen 3;Sugarcane juice;Invertase;Antioxidant;Phenolic content;Physicochemical properties

  • การศึกษาสมบัติทางเคมีกายภาพบางประการของน้ำอ้อยจากอ้อย 3 สายพันธุ์ คือ สุพรรณบุรี 50 สุพรรณบุรี 60 และขอนแก่น 3 พบว่าน้ำอ้อยพันธุ์ขอนแก่น 3 มีปริมาณของของแข็งที่ละลายได้ และสมบัติการต้านออกซิเดชันโดยวิธี DPPH, FRAP และ ABTS สูงที่สุด ถึงแม้ว่าจะมีปริมาณฟีนอลิกต่ำที่สุดก็ตาม เมื่อนำน้ำอ้อยพันธุ์ขอนแก่น 3 มาศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการย่อยน้ำตาลซูโครสด้วยเอนไซม์อินเวอร์เทสโดยใช้วิธี Response Surface Methodology แบบ Box-Behnken Design โดยกำหนดปัจจัยของสภาวะในการย่อยคือ ความเข้มข้นของเอนไซม์ เวลา และอุณหภูมิในการเกิดปฏิกิริยา พบว่าสภาวะที่เหมาะสมในการย่อยคือ ความเข้มข้นของสารละลายเอนไซม์ 150 units/mL เวลา 1 ชั่วโมง และ อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส ซึ่งให้น้ำตาลรีดิวซ์ที่เกิดขึ้นเท่ากับ 216.11g/L

  • Some physicochemical properties of sugarcane juice prepared from 3 varieties of sugarcane namely Suphanburi 50, Suphanburi 60 and Khonkaen 3 were investigated. The sugarcane juice from Khonkaen 3 showed the highest content of total soluble solid and antioxidant properties evaluated by DPPH, FRAP and ABTS method, although the phenolic content was found to be the lowest in the sample. The sugarcane juice from Khonkaen 3 was then used as a substrate for the optimization of sucrose hydrolysis by invertase. The response surface methodology with Box-Behnken Design was used to evaluate the optimum condition for the factors of enzyme concentration, reaction time and temperature in sucrose hydrolysis. Results showed that the optimum condition was 150 units/mL of enzyme concentration and 1 hour reaction time at 60 deg C and 216.11g/L reducing sugar was obtained.

  • [1] ธนากร มณีฉาย (สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะอุตสาหกรรมเกษตร)
    [2] ประพันธ์ ปิ่นศิโรดม (สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะอุตสาหกรรมเกษตร)

  • [1] Tanakorn Maneechai (aKing Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang, Bangkok (Thailand). Faculty of Agro-Industry)
    [2] Praphan Pinsirodom (aKing Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang, Bangkok (Thailand). Faculty of Agro-Industry)

1,401 562

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

ธนากร มณีฉาย และ ประพันธ์ ปิ่นศิโรดม. (2556). องค์ประกอบทางเคมีกายภาพบางประการ
           ปริมาณฟีนอลิกและสมบัติการต้านออกซิเดชันของน้ำอ้อยและสภาวะที่เหมาะสมในการย่อยน้ำตาลซูโครสในน้ำอ้อยด้วยเอนไซม์อินเวอร์เทส

           กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.


ธนากร มณีฉาย และ ประพันธ์ ปิ่นศิโรดม. "องค์ประกอบทางเคมีกายภาพบางประการ
           ปริมาณฟีนอลิกและสมบัติการต้านออกซิเดชันของน้ำอ้อยและสภาวะที่เหมาะสมในการย่อยน้ำตาลซูโครสในน้ำอ้อยด้วยเอนไซม์อินเวอร์เทส". 
           กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
           2556.

ธนากร มณีฉาย และ ประพันธ์ ปิ่นศิโรดม. (2556). องค์ประกอบทางเคมีกายภาพบางประการ
           ปริมาณฟีนอลิกและสมบัติการต้านออกซิเดชันของน้ำอ้อยและสภาวะที่เหมาะสมในการย่อยน้ำตาลซูโครสในน้ำอ้อยด้วยเอนไซม์อินเวอร์เทส

           กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.