Creative Commons License
  • การศึกษาระบบโซ่อุปทานหอยแครงในอำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี

  • Study of blood cockle's supply chain in Kanjanadist, Surat Thani

  • เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 50: สาขาศึกษาศาสตร์, สาขาเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ, สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

  • Proceedings of 50th Kasetsart University Annual Conference: Education, Economics and Business Administration, Humanities and Social Sciences

  • 50

  • สาขาบริหารธุรกิจ

  • 2555

  • ชมพูนุท ด้วงจันทร์
    พิมพลักษณ์ พลจรัส
    อุษา เรณุมาศ
    อันธิกา ทรัพย์สมบูรณ์
    คีริศา กันพ้นภัย

  • 978-616-7522-94-4

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
    กระทรวงศึกษาธิการ
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
    สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 50

  • กรุงเทพฯ

  • 31 ม.ค.-2 ก.พ. 2555

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 248-255

  • 437 หน้า

  • ไทย

  • สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์

  • E20-การบริหาร/ธุรกิจเกษตร

  • E16-เศรษฐศาสตร์การผลิต

  • E70-การค้า/การตลาด

  • Anadara granosa;หอยแครง;อุปทาน;เกษตรกร;ผู้บริโภค;ฟังค์ชั่นอุปทาน;ประเทศไทย

  • Anadara granosa;Cockles;Supply;Farmers;Consumers;Supply functions;Thailand

  • หอยแครง;ระบบโซ่อุปทาน;เกษตรกรผู้เพาะเลี้ยง;พ่อค้าคนกลาง;ผู้บริโภค;จ.สุราษฎร์ธานี อ.กาญจนดิษฐ์

  • Blood cockle;Supply chain;Problems and solutions occurred;Structures of blood cockles supply chain system;Merchant middleman;Kanjanadist Surat Thani Province

  • การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาระบบโซ่อุปทานหอยแครงในอำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีประเด็นสำคัญในการศึกษาถึงระบบโครงสร้างโซ่อุปทานหอยแครงตลอดจนปัญหาและแนวทางแก้ไขในการปรับปรุงระบบโซ่อุปทานหอยแครง โดยแบ่งการสัมภาษณ์ออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยง กลุ่มพ่อค้าคนกลาง และกลุ่มผู้บริโภค ซึ่งใช้รูปแบบการสัมภาษณ์เชิงลึก และนำข้อมูลจากการสัมภาษณ์นั้นมาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า โครงสร้างระบบโซ่อุปทานหอยแครงในจังหวัดสุราษฎร์ธานี จะประกอบด้วย 4 ส่วนหลัก ได้แก่ ผู้จัดหาพันธุ์หอยแครง เกษตรกรผู้เพาะเลี้ยง พ่อค้าคนกลาง และผู้บริโภค แต่ละส่วนจะมีความสัมพันธ์เชื่อมต่อกันตั้งแต่ต้นน้ำจนถึงปลายน้ำ โดยเริ่มจากกระบวนการทำงานของผู้ผลิต ทำการเพาะเลี้ยงหอยแครงและนำผลผลิตที่ได้ส่งต่อไปยังพ่อค้าคนกลางเพื่อกระจายต่อไปยังผู้บริโภค ซึ่งปัญหาหลักจะเป็นเรื่องผลผลิตไม่เพียงพอกับความต้องการ ทำให้ภาครัฐ ต้องเข้ามาให้การสนับสนุนในเรื่องการวางแผนการผลิตและการเชื่อมโยงของห่วงโซ่อุปทาน

  • This qualitative research aims to study the supply chain system of the blood cockles in Surat Thani. The main issues are to study the structures of the blood cockles supply chain as well as explore the problems and solutions occurred in the system. The in-depth interview was used to collect the data from groups of farmers, middle men and consumers. The data were analyzed using content analysis. The results revealed that the structures of blood cockles supply chain system consist of 4 main partssuppliers, farmers, middlemen, and consumer. Each part has a correlation from the up steam to downstream. That is the farmers start the production process and then the middlemen distribute the products to the consumers. Moreover, the findings revealed that the blood cockles are not enough for suppliers hence the government has to support the production planning and the connection in the supply Chain.

  • [1] ชมพูนุท ด้วงจันทร์ (มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฏร์ธานี คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ)
    [2] พิมพลักษณ์ พลจรัส (มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฏร์ธานี คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ)
    [3] อุษา เรณุมาศ (มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฏร์ธานี คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ)
    [4] อันธิกา ทรัพย์สมบูรณ์ (มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฏร์ธานี คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ)
    [5] คีริศา กันพ้นภัย (มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฏร์ธานี คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ)

  • [1] Chompunoot Duangjan (Prince of Songkla University. Surat Thani Campus, Surat Thani (Thailand). Faculty of Liberal Arts and Management Sciences)
    [2] Pimpalak Ponjaras (Prince of Songkla University. Surat Thani Campus, Surat Thani (Thailand). Faculty of Liberal Arts and Management Sciences)
    [3] Usa Ranumas (Prince of Songkla University. Surat Thani Campus, Surat Thani (Thailand). Faculty of Liberal Arts and Management Sciences)
    [4] Auntika Subsomboon (Prince of Songkla University. Surat Thani Campus, Surat Thani (Thailand). Faculty of Liberal Arts and Management Sciences)
    [5] Keerisa Kunponpai (Prince of Songkla University. Surat Thani Campus, Surat Thani (Thailand). Faculty of Liberal Arts and Management Sciences)

378 365

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

ชมพูนุท ด้วงจันทร์ และคนอื่นๆ. (2555). การศึกษาระบบโซ่อุปทานหอยแครงในอำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
           กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.


ชมพูนุท ด้วงจันทร์ และคนอื่นๆ. "การศึกษาระบบโซ่อุปทานหอยแครงในอำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี". 
           กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
           2555.

ชมพูนุท ด้วงจันทร์ และคนอื่นๆ. (2555). การศึกษาระบบโซ่อุปทานหอยแครงในอำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
           กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.