Creative Commons License
  • แนวคิดเรื่องอุตสาหกรรมโลหะด้วยการเรียนรู้ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมและสิ่งแวดล้อมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

  • Conceptions about the metal industry using science technology society and environment approach

  • เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 49: ศึกษาศาสตร์

  • Proceedings of 49th Kasetsart University Annual Conference: Education

  • 49

  • สาขาศึกษาศาสตร์

  • 2554

  • สุวรรณา อัมพรดนัย
    เอกรัตน์ ศรีตัญญู
    บุญธนา วรรณเลิศ

  • 978-616-7522-09-8

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์;สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา;กระทรวงศึกษาธิการ;กระทรวงเกษตรและสหกรณ์;กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี;กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม;กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร;สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ;สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 49

  • กรุงเทพฯ

  • 1-4 ก.พ. 2554

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 76-83

  • 190 หน้า

  • ไทย

  • สำนักหอสมุด ม.เกษตรศาสตร์

  • นักเรียน;ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6;การเรียนรู้;การสอน;การจัดการ;แนวคิดเชิงวิทยาศาสตร์;เทคโนโลยี;สังคม;สิ่งแวดล้อม;อุตสาหกรรมโลหะ;ความเข้าใจ;แบบวัดแนวคิด

  • Student;High school;Grade 12;Learning;Teaching;Mamagement;Conception;Science;Technology;Society;Environment;Metal industry;Data analysis

  • การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิด เรื่อง อุตสาหกรรมโลหะของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมและสิ่งแวดล้อม กลุ่มที่ศึกษาในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 จำนวน 50 คน ของโรงเรียนเอกชนแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ แบบวัดแนวคิด เรื่อง อุตสาหกรรมโลหะ มีลักษณะเป็นข้อสอบปรนัยพร้อมเลือกเหตุผลจำนวน 15 ข้อ ซึ่งประกอบด้วยแนวคิดหลัก 3แนวคิด ได้แก่ ขั้นตอนการแยกแร่ออกจากสินแร่ การผลิตโลหะ และ มลพิษและการกำจัดมลพิษที่เกิดจากกระบวนการผลิต วิเคราะห์ข้อมูลโดยการจัดกลุ่มคำตอบตามแนวคิดของ Abraham et al.(1994)แล้วหาความถี่และร้อยละ ผลการวิจัยพบว่านักเรียนที่ได้รับการเรียนรู้ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมและสิ่งแวดล้อม มีแนวคิดวิทยาศาสตร์มากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 70.17 โดยแนวคิดที่นักเรียนมีความเข้าใจถูกต้องมากที่สุด คือ ขั้นตอนการแยกแร่ออกจากสินแร่ รองลงมา คือ มลพิษและการกำจัดมลพิษที่เกิดจากกระบวนการผลิต ในส่วนของการผลิตโลหะ นักเรียนมีแนวคิดวิทยาศาสตร์น้อยที่สุด

  • [1] สุวรรณา อัมพรดนัย (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย)
    [2] เอกรัตน์ ศรีตัญญู (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาการศึกษา)
    [3] บุญธนา วรรณเลิศ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาเคมี)

  • [1] Suwanna Amporndanai (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Graduate School)
    [2] Akarat Sreethunyoo (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Education. Department of Education)
    [3] Boontana Wannalerse (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Science. Department of Chemistry)

333 215

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

สุวรรณา อัมพรดนัย. (2554). แนวคิดเรื่องอุตสาหกรรมโลหะด้วยการเรียนรู้ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
           สังคมและสิ่งแวดล้อมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
.  กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
           สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. กระทรวงศึกษาธิการ. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
           กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
           กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
           สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.


สุวรรณา อัมพรดนัย. "แนวคิดเรื่องอุตสาหกรรมโลหะด้วยการเรียนรู้ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
           สังคมและสิ่งแวดล้อมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6".  กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
           สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. กระทรวงศึกษาธิการ. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
           กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
           กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
           สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
. 2554.

สุวรรณา อัมพรดนัย. (2554). แนวคิดเรื่องอุตสาหกรรมโลหะด้วยการเรียนรู้ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
           สังคมและสิ่งแวดล้อมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
.  กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
           สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. กระทรวงศึกษาธิการ. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
           กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
           กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
           สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.