Creative Commons License
  • การดูดซับโครเมียม (VI) ในน้ำเสียชุบโลหะโดยใช้ไคโตซานเชื่อมขวางเรซิน

  • Adsorption chromium (VI) from electroplating wastewater by crosslinked chitosan resin

  • เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 47: สาขาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

  • Proceedings of 47th Kasetsart University Annual Conference: Natural Resources and Environment

  • 47

  • สาขาทรัพยากรธรรมชาติ

  • 2552

  • วราภรณ์ ศรีภักดี
    โกวิทย์ ปิยะมังคลา

  • 978-974-660-175-7

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์;สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา;กระทรวงศึกษาธิการ;กระทรวงเกษตรและสหกรณ์;กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี;กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม;กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร;สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ;สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 47

  • กรุงเทพฯ

  • 17-20 มี.ค. 2552

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 126-133

  • 361 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • น้ำเสียชุบโลหะ;โครเมียม;ไคโตซานเชื่อมขวางเรซิน;เอทิลีนไกลคอลไดไกลซิดิลอีเทอร์;การดูดซับ;จลนพลศาสตร์;ไอโซเทอม

  • Electroplating wastewater;Chromium;Crosslinked chitosan resin;Ethylene glycol diglycidyl ether;Adsorbent;Adsorption;Kinetics;Isotherm

  • งานวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาสมบัติการดูดซับโครเมียม (VI) ในน้ำเสียชุบโลหะด้วยไคโตซานเชื่อมขวางด้วยเอทิลีนไกลคอลไดไกลซิดิลอีเทอร์เรซินเป็นตัวดูดซับ โดยทำการศึกษาแบบแบตซ์ สภาวะที่เหมาะสมในการดูดซับโครเมียม (VI) คือ ปริมาณของตัวดูดซับ 0.8 กรัม และความเป็นกรด-เบสของน้ำเสียชุบโลหะโครเมียม (VI) เท่ากับ พีเอช 2 มีความสามารถการดูดซับโครเมียม (VI) เท่ากับ 1208.4 มิลลิกรัมต่อกรัมแบบจำลองการดูดซับแบบแลงเมียร์และฟรุนดิช นำมาใช้อธิบายไอโซเทอมของการดูดซับน้ำเสียชุบโลหะโครเมียม (VI) พบว่า ไอโซเทอมของการดูดซับสอดคล้องกับแบบแลงเมียร์ จลนพลศาสตร์ของการดูดซับน้ำเสียชุบโลหะโครเมียม (VI) เป็นแบบ Pseudo-second-order ในขณะที่กลไกการดูดซับน้ำเสียชุบโลหะโครเมียม (VI) ของตัวดูดซับเกิดขึ้นสองขั้นตอน

  • Crosslinked chitosan resin with ethylene glycol diglycidyl ether as adsorbent for adsorption chromium (VI) from electroplating was studied using batch adsorption experimentals. A dosage 0.8 g and pH 2.0 were found to be an optimum for chromium (VI) adsorption. The adsorption capacitie of chromium (VI) onto crosslinked chitosan resin was 1208.4 mg/g. The Langmuir and Freundlich adsorption isotherm models were applied to describe that chromium (VI) uptake could be decribed by Langmuir adsorption model onto crosslinked chitosan resin. The kinetic experimental data was properly correlated with the pseudo-second-order kinetic model. Whiles, the mechanism of adsorption chromium (VI) by crosslinked chitosan resin occed 2 steps.

  • [1] วราภรณ์ ศรีภักดี (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ภาควิชาเคมีอุตสาหกรรม)
    [2] โกวิทย์ ปิยะมังคลา (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ภาควิชาเคมีอุตสาหกรรม)

  • [1] Waraporn Sripakdee
    [2] Kowit Piyamongkala

371 103

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

วราภรณ์ ศรีภักดี และ โกวิทย์ ปิยะมังคลา. (2552). การดูดซับโครเมียม (VI)
           ในน้ำเสียชุบโลหะโดยใช้ไคโตซานเชื่อมขวางเรซิน
.  กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
           สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. กระทรวงศึกษาธิการ. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
           กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
           สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.


วราภรณ์ ศรีภักดี และ โกวิทย์ ปิยะมังคลา. "การดูดซับโครเมียม (VI)
           ในน้ำเสียชุบโลหะโดยใช้ไคโตซานเชื่อมขวางเรซิน".  กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
           สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. กระทรวงศึกษาธิการ. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
           กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
           สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
. 2552.

วราภรณ์ ศรีภักดี และ โกวิทย์ ปิยะมังคลา. (2552). การดูดซับโครเมียม (VI)
           ในน้ำเสียชุบโลหะโดยใช้ไคโตซานเชื่อมขวางเรซิน
.  กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
           สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. กระทรวงศึกษาธิการ. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
           กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
           สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.