Creative Commons License
  • ประสิทธิภาพของฝายหินเรียงในการบำบัดโลหะหนักจากน้ำเสียชุมชนของเทศบาล ตำบลห้วยยอด อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

  • Efficiency of rock check dams on heavy metal in wastewater treatment at Huai Yot sub-district, Huai Yot district, Trang province

  • เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 47: สาขาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

  • Proceedings of 47th Kasetsart University Annual Conference: Natural Resources and Environment

  • 47

  • สาขาทรัพยากรธรรมชาติ

  • 2552

  • นพพร วงศ์วิวัฒน์
    วิทย์ ธารชลานุกิจ
    เรืองวิชญ์ ยุ้นพันธ์

  • 978-974-660-175-7

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์;สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา;กระทรวงศึกษาธิการ;กระทรวงเกษตรและสหกรณ์;กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี;กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม;กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร;สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ;สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 47

  • กรุงเทพฯ

  • 17-20 มี.ค. 2552

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 51-58

  • 361 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • ฝายหินเรียง;น้ำเสียชุมชน;การบำบัดโลหะหนัก;คุณภาพน้ำ;ประสิทธิภาพ;เทศบาลตำบลห้วยยอด;จ.ตรัง อ.ห้วยยอด

  • Rock check dams;Heavy metals;Wastewater treatment;Water quality;Trang province

  • การศึกษาประสิทธิภาพของฝายหินเรียงในการบำบัดโลหะหนักจากน้ำเสียชุมชนเทศบาลตำบลห้วยยอด ได้ ทำการศึกษาการบำบัดโลหะหนัก 3 ชนิดคือ ตะกั่ว, สารหนู และปรอท โดยทำการสร้างฝายหินเรียงซึ่งทำจากหินปูน จำนวน 3 ฝาย ทำการศึกษาใน 3 พื้นที่ทดลอง คือ ศูนย์สุขภาพชุมชนที่ทำการเทศบาล และโรงงานขนมจีน โดยในแต่ละพื้นที่อยู่ในแหล่งของน้ำเสียที่แตกต่างกัน ทำการเก็บตัวอย่างน้ำทุกสัปดาห์ที่ 4 ของเดือนบริเวณหน้าและหลังฝายของแต่ละพื้นที่ทดลองรวมระยะเวลา 3 เดือน จากการทดลองพบว่าในพื้นที่ทดลองศูนย์สุขภาพชุมชนมีค่าสูงสุดของประสิทธิภาพการบำบัดตะกั่ว สารหนูและปรอท (เฉลี่ยจาก 3 ฝาย) เท่ากับ 15.77, 2.18 และ 68.83 ตามลำดับ และในที่ทำการเทศบาลมีค่าเท่ากับ 46.48, 25.00 และ 97.95, โรงงานขนมจีนมีค่าเท่ากับ 14.77, 24.62 และ 79.37 ตามลำดับ นอกจากนี้ยังพบว่าประสิทธิภาพการบำบัดเฉลี่ยของตะกั่วและปรอทในสัปดาห์ที่ 4 ของเดือนที่ 1 ในแปลงที่ทำการเทศบาลมีความแตกต่างทางสถิติ (p น้อยกว่าหรือเท่ากับ 0.05) เมื่อเทียบกับประสิทธิภาพการบำบัดเฉลี่ยของสัปดาห์ที่ 4 ในเดือนที่ 2 และ 3 การศึกษานี้แสดงให้เห็นได้ว่าฝายหินเรียงมีประสิทธิภาพในบำบัดโลหะหนักปรอทได้มากที่สุด โดยงานวิจัยนี้ มีแนวโน้มที่จะประยุกต์ใช้ในการบำบัดโลหะหนักทั้ง 3 ชนิดในพื้นที่อื่นๆ ได้

  • Study on efficiency of rock check dam on eliminating three heavy metals: lead, arsenic and mercury was conducted on wastewater from three different treatment area in Huai Yot Sub-district. Three treatment areas were Community healthy center, municipal office and Thai rice noodle factory which were different wastewater sources. Three rock check dams in each treatment area were built from limestone in flat square shape. The water samples from upstream and downstream of each dam were taken every fourth week of month for 3 months. The efficiency on eliminating heavy metals from each taking time point was averaged from 3 dams. The results showed that in community healthy center, the highest efficiency (percent) on eliminating lead, arsenic and mercury were 15.77, 2.18 and 68.83, respectively. Municipal office were 46.48, 25.00 and 97.95, Thai rice noodle factory were 14.77, 24.62 and 79.37, respectively. Furthermore, the efficiency on eliminating lead and mercury from wastewater sample which was taken in the forth week of the first month from Municipal office were significantly different (p LT=0.05) compared to those of second and third month. From this study, it can be indicated that rock check dam are most effectively eliminating mercury. That it can be tentatively applied to eliminate the three heavy metals in other treatment areas.

  • [1] นพพร วงศ์วิวัฒน์ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาลัยสิ่งแวดล้อม)
    [2] วิทย์ ธารชลานุกิจ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาลัยสิ่งแวดล้อม)
    [3] เรืองวิชญ์ ยุ้นพันธ์ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะประมง ภาควิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ)

  • [1] Nopporn Wongwiwat (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). College of Environment)
    [2] Wit Tarnchalanukit (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). College of Environment)
    [3] Ruangvit Yoonpundh (Kasetsart University, Bangkok (Thailand). Faculty of Fisheries. Department of Aquaculture)

374 144

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

นพพร วงศ์วิวัฒน์. (2552). ประสิทธิภาพของฝายหินเรียงในการบำบัดโลหะหนักจากน้ำเสียชุมชนของเทศบาล ตำบลห้วยยอด
           อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
.  กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา.
           กระทรวงศึกษาธิการ. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
           กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
           สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.


นพพร วงศ์วิวัฒน์. "ประสิทธิภาพของฝายหินเรียงในการบำบัดโลหะหนักจากน้ำเสียชุมชนของเทศบาล ตำบลห้วยยอด
           อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง".  กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา.
           กระทรวงศึกษาธิการ. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
           กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
           สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
. 2552.

นพพร วงศ์วิวัฒน์. (2552). ประสิทธิภาพของฝายหินเรียงในการบำบัดโลหะหนักจากน้ำเสียชุมชนของเทศบาล ตำบลห้วยยอด
           อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
.  กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา.
           กระทรวงศึกษาธิการ. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
           กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
           สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.