Creative Commons License
  • ผลของการเพิ่มขึ้นของความเข้มข้นของก๊าซโอโซน ต่อองค์ประกอบผลผลิตและองค์ประกอบทางเคมีบางชนิดในเมล็ดของถั่วเหลืองไทยพันธุ์ สจ. 5

  • Effects of elevated ozone concentration on yield components and some chemical compositions of seeds of Thai soybean cultivars (Glycine max (L.) Merrill) cultivar SJ. 5

  • เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 47: สาขาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

  • Proceedings of 47th Kasetsart University Annual Conference: Natural Resources and Environment

  • 47

  • สาขาทรัพยากรธรรมชาติ

  • 2552

  • จิรนันท์ คุ้มบัว
    กณิตา ธนเจริญชณภาส
    โอรส รักชาติ

  • 978-974-660-175-7

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
    กระทรวงศึกษาธิการ
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
    สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 47

  • กรุงเทพฯ

  • 17-20 มี.ค. 2552

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 33-41

  • 361 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • H50-ความผิดปกติของพืช

  • F60-ชีวเคมีของพืช

  • F62-การเจริญเติบโตของพืช

  • Glycine max;โอโซน;การเติบโต;ผลผลิต;เมล็ด;องค์ประกอบทางเคมี;โปรตีน

  • Glycine max;Ozone;Growth;Yields;Seeds;Chemical composition;Proteins

  • ถั่วเหลือง;พันธุ์ สจ. 5;ก๊าซโอโซน;ความเข้มข้นของก๊าซ;การเจริญเติบโต;องค์ประกอบผลผลิต;เมล็ด;องค์ประกอบทางเคมี;โปรตีน

  • Glycine max;Thai soybean;Ozone;SJ. 5;Open-top chambers;Seed nutrition

  • การศึกษาถึงผลกระทบของการเพิ่มขึ้นของปริมาณโอโซนต่อพันธุ์ถั่วเหลืองของไทย คือพันธุ์ สจ.5 กระทำระหว่างเดือนธันวาคม 2550-มีนาคม 2551 ณ ศูนย์วิจัยพืชไร่ จังหวัดพิษณุโลก ในการศึกษาครั้งนี้ใช้ตู้ ทดลองระบบเปิดด้านบนและติดตั้งอุปกรณ์เพื่อควบคุมระดับความเข้มข้นของโอโซนให้แตกต่างกัน 3 ระดับ ซึ่งผลการวิจัยแสดงว่าโอโซนที่ความเข้มข้นเพิ่มขึ้นในระดับสูงกว่าระดับบรรยากาศ (67.8 พีพีบี) มีผลทำให้ความสูง จำนวนข้อต่อต้น องค์ประกอบผลผลิตบางประการ คือ จำนวนฝักต่อต้น และองค์ประกอบทางเคมีในเมล็ด โดยลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และผลการวิจัยยังบ่งชี้ว่า การสัมผัสกับโอโซนในระดับสูงอย่างต่อเนื่องส่งผลต่อการยังยั้งการสร้างสารอาหารในเมล็ดถั่วเหลืองได้จริง โดยพบว่าทำให้ปริมาณโปรตีนลดลงถึง 0.69 เปอร์เซ็นต์ และ 0.51 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มทดลองที่มีระดับต่ำสุด และในระดับความเข้มข้นในบรรยากาศ ตามลำดับ จากผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าถั่วเหลืองพันธุ์ สจ.5 มีความไวในการตอบสนองต่อโอโซน ระดับความเข้มข้นสูงซึ่งสัมผัสในระยะเวลาต่อเนื่อง และนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงผลผลิตและคุณภาพของเมล็ดถั่วเหลือง

  • Study on the effects of elevated ozone on Thai soybean (Glycine max (L.) Merrill) cultivar SJ. 5 was conducted during December 2007-March 2008 at Phitsanulok province Field Crops Research Center. Open-Top Chambers (OTC) were used to control 3 levels of ozone concentrations with charcoal filtered air (CF), non-charcoal filtered air (NCF) and charcoal filtered air plus ozone (CF+O3). Results reveal that high level ozone concentration (67.8 ppb) significantly affected plant height, node numbers/plant, pod numbers/plant, seed numbers/plant, total seed weight and chemical composition of seeds (protein, ash and moisture contents). Furthermore, chronic exposure to ozone strongly suppressed chemical composition in soybean seed. Protein, the most valuable components of soybean seed was decreased by 0.69 percent and 0.51 percent in CF+O3 treatment as compared with the CF and NCF treatments, respectively. The results indicated that S.J.5 cultivar was susceptible to elevated level of ozone under long-term exposure condition and could lead to noticeable alteration in seed production and seed quality.

  • [1] จิรนันท์ คุ้มบัว (มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ภาควิชาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม)
    [2] กณิตา ธนเจริญชณภาส (มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ภาควิชาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม)
    [3] โอรส รักชาติ (มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ภาควิชาอุตสาหกรรมเกษตร)

  • [1] Jiranun Kumbua (Naresuan University, Phitsanulok (Thailand). Faculty of Agriculture Natural Resources and Environment. Department of Natural Resources and Environment)
    [2] Kanita Thanacharoenchanaphas (Naresuan University, Phitsanulok (Thailand). Faculty of Agriculture Natural Resources and Environment. Department of Natural Resources and Environment)
    [3] Orose Rugchati (Naresuan University, Phitsanulok (Thailand). Faculty of Agriculture Natural Resources and Environment. Department of Agro-Industry)

299 102

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

จิรนันท์ คุ้มบัว. (2552). ผลของการเพิ่มขึ้นของความเข้มข้นของก๊าซโอโซน
           ต่อองค์ประกอบผลผลิตและองค์ประกอบทางเคมีบางชนิดในเมล็ดของถั่วเหลืองไทยพันธุ์ สจ. 5
.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.


จิรนันท์ คุ้มบัว. "ผลของการเพิ่มขึ้นของความเข้มข้นของก๊าซโอโซน
           ต่อองค์ประกอบผลผลิตและองค์ประกอบทางเคมีบางชนิดในเมล็ดของถั่วเหลืองไทยพันธุ์ สจ. 5".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
           2552.

จิรนันท์ คุ้มบัว. (2552). ผลของการเพิ่มขึ้นของความเข้มข้นของก๊าซโอโซน
           ต่อองค์ประกอบผลผลิตและองค์ประกอบทางเคมีบางชนิดในเมล็ดของถั่วเหลืองไทยพันธุ์ สจ. 5
.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.