Creative Commons License
  • การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์กำจัดหอยเชอรี่จากของเหลือทิ้งจากกระบวนการผลิตบุหรี่

  • Research and development of golden apple snail molluscicide from cigarette production process waste

  • เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 47: สาขาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

  • Proceedings of 47th Kasetsart University Annual Conference: Natural Resources and Environment

  • 47

  • สาขาทรัพยากรธรรมชาติ

  • 2552

  • รจนา ตั้งกุลบริบูรณ์
    สุริยา สาสนรักกิจ

  • 978-974-660-175-7

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
    กระทรวงศึกษาธิการ
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
    สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 47

  • กรุงเทพฯ

  • 17-20 มี.ค. 2552

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 9-17

  • 361 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • H10-ศัตรูพืช

  • Q60-การแปรรูปผลิตผลเกษตร

  • P10-ทรัพยากรน้ำ

  • Pomacea canaliculata;สารป้องกันกำจัดหอย;ผลพลอยได้;ของเสีย;ยาสูบ;การป้องกันกำจัดหอย;ความเป็นพิษ;ปลา;กบ;ปู;การตาย;คุณภาพน้ำ;คุณสมบัติทางกายภาพเคมีของดิน;นิโคทิน;ความปลอดภัย;นาข้าว

  • Pomacea canaliculata;Molluscicides;Byproducts;Wastes;Tobacco;Mollusc control;Toxicity;Fishes;Frogs;Crabs;Mortality;Water quality;Soil chemicophysical properties;Nicotine;Safety;Rice fields

  • หอยเชอรี่;ผลิตภัณฑ์กำจัดหอยเชอรี่;ของเหลือทิ้ง;กระบวนการผลิตบุหรี่;กากยาสูบ;การกำจัดหอย;ความเป็นพิษ;ปลา;กบ;ปู;การตาย;คุณภาพน้ำ;คุณสมบัติทางเคมีของดิน;นิโคติน;ความปลอดภัย;นาข้าว

  • Golden apple snail;Molluscicide;Cigarette production process waste;Research;Development

  • การศึกษาประสิทธิภาพการกำจัดหอยเชอรี่โดยใช้กากยาสูบได้แบ่งออกเป็น 3 การทดลอง คือ การทดสอบในระดับห้องปฏิบัติการ ระดับเรือนทดลอง และระดับภาคสนาม การทดสอบในระดับห้องปฏิบัติการพบว่าความเป็นพิษของกากยาสูบต่อหอยเชอรี่, ปลา, กบ และปู มีค่า LD sub(50) เท่ากับ 873, 110, 250 และ 800 กิโลกรัมต่อไร่ตามลำดับ การทดสอบประสิทธิภาพการกำจัดหอยเชอรี่ของกากยาสูบในระดับเรือนทดลองและภาคสนาม พบว่าการใช้กากยาสูบอัตราสูงกว่า 250 กก./ไร่ ทำให้หอยเชอรี่ตายทั้งหมด 100 เปอร์เซ็นต์ หลังจากการใส่ 2 วัน และมีผลให้ ค่าการนำไฟฟ้า ค่าบีโอดีและซีโอดีของน้ำเพิ่มขึ้น แต่ปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ำได้และค่าพีเอชลดต่ำลง อีกทั้งกากยาสูบทำให้ปริมาณอินทรียวัตถุ ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ ปริมาณโพแทสเซียม แคลเซียมและ แมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ภายในดินหลังปลูกข้าวเพิ่มสูงขึ้นโดยไม่ตรวจพบนิโคตินในข้าวเปลือกและข้าวสาร สามารถแนะนำให้ใช้กากยาสูบอัดเม็ดในอัตรา 250 กก./ไร่ เป็นสารกำจัดหอยเชอรี่ในนาข้าว โดยสามารถทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมี หากมีสิ่งมีชีวิตไปสัมผัสหรือดื่มกินน้ำในแปลงข้าวจะไม่ก่อให้เกิดความเป็นพิษเฉียบพลันทางปากและทางผิวหนัง อีกทั้งไม่เกิดความระคายเคืองต่อผิวหนัง

  • This project was studied in efficiency of tobacco waste on golden apple snail control with 3 experiments e.g. laboratory, green house and field trial. In the laboratory trial was found toxicity of tobacco waste on golden apple snail, fish, frog and crub were LD sub(50) 873, 110, 250 and 800 Kg/rai respectively. In greenhouse and field experiments were found at the rate of tobacco waste more than 250 Kg/rai could kill golden apple snail 100 percent in two days. Tobacco waste can be increased electrical conductivity, biological oxygen demand, chemical oxygen demand and dissolved oxygen of water but decreased water pH. Otherwise, tobacco waste can be supplied organic matter, available phosphorus, exchangeable potassium, calcium and magnesium which supported rice growth. There was not detected nicotine in rice. That we can be recommended tobacco waste at the rate of 250 Kg/rai for killing golden apple snail in paddy field and can be supplied chemical fertilizer. If living thing touch or drink water in paddy field will not toxic by oral and dermal irritation.

  • [1] รจนา ตั้งกุลบริบูรณ์ (สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ฝ่ายเทคโนโลยีการเกษตร)
    [2] สุริยา สาสนรักกิจ (สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ฝ่ายเทคโนโลยีการเกษตร)

  • [1] Rochana Tangkoonboribun (Thailand Institute of Scientific and Technological Research, Bangkok (Thailand). Agricultural Technology Department)
    [2] Suriya Sassanarakkit (Thailand Institute of Scientific and Technological Research, Bangkok (Thailand). Agricultural Technology Department)

834 169

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

รจนา ตั้งกุลบริบูรณ์ และ สุริยา สาสนรักกิจ. (2552).
           การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์กำจัดหอยเชอรี่จากของเหลือทิ้งจากกระบวนการผลิตบุหรี่.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.


รจนา ตั้งกุลบริบูรณ์ และ สุริยา สาสนรักกิจ.
           "การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์กำจัดหอยเชอรี่จากของเหลือทิ้งจากกระบวนการผลิตบุหรี่".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
           2552.

รจนา ตั้งกุลบริบูรณ์ และ สุริยา สาสนรักกิจ. (2552).
           การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์กำจัดหอยเชอรี่จากของเหลือทิ้งจากกระบวนการผลิตบุหรี่.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.