Creative Commons License
  • การสร้างตราเอกลักษณ์อุบลราชธานีผ่านสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชน กรณีศึกษาผลิตภัณฑ์ผ้ากาบบัว จังหวัดอุบลราชธานี

  • เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 46: สาขาศึกษาศาสตร์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ สาขาส่งเสริมการเกษตรและคหกรรมศาสตร์

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
    กระทรวงศึกษาธิการ
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
    สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  • 46

  • สาขาบริหารธุรกิจ

  • 2551

  • กิจจา เตชะศิริธนะกุล

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 46

  • กรุงเทพฯ

  • 29 ม.ค. - 1 ก.พ. 2551

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 321-328

  • 669 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • E80-คหกรรมศาสตร์

  • E73-การบริโภค

  • งานฝีมือ;เครื่องหมายการค้า;การออกแบบ;วิสาหกิจขนาดเล็ก

  • Handicrafts;Trade marks;Design;Small enterprises

  • ผ้ากาบบัว;ตราเอกลักษณ์ผลิตภัณฑ์;การสร้างเอกลักษณ์;ผลิตภัณฑ์ชุมชน;จ.อุบลราชธานี

  • Kab Bua fabric;Communal products;Brand identity

  • การวิจัยการสร้างตราเอกลักษณ์อุบลราชธานีผ่านผ้ากาบบัวประการแรกเพื่อศึกษาถึงสภาพด้านการสร้างตราเอกลักษณ์ผลิตภัณฑ์ผ้ากาบบัวจังหวัดอุบลราชธานีประการที่สองเพื่อศึกษาโอกาสทางการตลาดของผลิตภัณฑ์ผ้ากาบบัวของจังหวัดอุบลราชธานีประการที่สามเพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้ากาบบัวจังหวัดอุบลราชธานีในจังหวัดอุบลราชธานีผลการศึกษาพบว่าผู้ซื้อสินค้ารู้จักผ้ากาบบัวว่าเป็นสินค้าที่มีเอกลักษณ์ของจังหวัดอุบลราชธานีและนิยมทั้งผ้ากาบบัวผ้ายและผ้ากาบบัวไหมส่วนสีที่นิยมคือสีเหลือง,สีฟ้าและสีชมพูส่วนราคานั้นมีความเหมาะสมและผู้ผลิตควรปรับปรุงรูปแบบและลวดลายให้ทันสมัยตรงตามสมัยนิยมส่วนผู้จำหน่ายประสบปัญหาจากคู่แข่งขันที่มีการแข่งขันที่รุนแรงและมีความต้องการให้รัฐบาลหาตลาดรองรับภายนอกประเทศให้ และความคิดเห็นของผู้ซื้อและผู้จำหน่ายผ้ากาบบัวรู้จักและเข้าใจประวัติความเป็นมาและจำแนกตามรายได้อายุเพศการศึกษาโดยรวมไม่แตกต่างกันอยู่ในระดับปานกลาง และมีความคิดเห็นของผู้ซื้อแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

  • There are three objectives of conducting this research. First, it studies conditions in creating a brand identity of Ubon Ratchathani's Kab Bua fabric. Second, it investigates marketing opportunity of the product. Third, it aims at providing plans ot develop the product. According to the research finding, it indicates that buyers know that Kab Bua fabric is a unique product and it represents a symbol of the province. Kab Bua fabric made from cotton and silk is well-known and popular. Yellow, light blue and pink are popular fabric colors. Prices of the product are considered appropriate. However, manufacturers should improve the product and its patterns to be more fashionable. Problems experienced by fabric sellers are high competitions and their need to sell the product to international market. When investigating opinions of the fabric buyers and sellers according income, age and education, they similarly stated that they understand the origin of the product. The buyers' opinions are different showing statistical significance of 0.01.

  • [1] กิจจา เตชะศิริธนะกุล (ร้านอุบลสาส์น)

  • [1] Kijja Teachsirithanakul

276 114

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

กิจจา เตชะศิริธนะกุล. (2551). การสร้างตราเอกลักษณ์อุบลราชธานีผ่านสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชน
           กรณีศึกษาผลิตภัณฑ์ผ้ากาบบัว จังหวัดอุบลราชธานี
.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.


กิจจา เตชะศิริธนะกุล. "การสร้างตราเอกลักษณ์อุบลราชธานีผ่านสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชน
           กรณีศึกษาผลิตภัณฑ์ผ้ากาบบัว จังหวัดอุบลราชธานี".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
           2551.

กิจจา เตชะศิริธนะกุล. (2551). การสร้างตราเอกลักษณ์อุบลราชธานีผ่านสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชน
           กรณีศึกษาผลิตภัณฑ์ผ้ากาบบัว จังหวัดอุบลราชธานี
.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.