Creative Commons License
  • วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างไซเปอร์เมทรินในลำไยเพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง

  • Residue trial of cypermethrin in longan to establish maximum residue limit (MRL)

  • เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 45: สาขาส่งเสริมการเกษตรและคหกรรมศาสตร์ สาขาอุตสาหกรรมเกษตร

  • Proceedings of 45th Kasetsart University Annual Conference: Agricultural Extension and Home Economics, Agro-Industry

  • 45

  • สาขาส่งเสริมการเกษตร

  • 2550

  • ประชาธิปัตย์ พงษ์ภิญโญ
    วิษณุ แจ้งใบ
    ศิริพันธ์ สุขมาก
    สมสมัย ปาลกูล
    สุวิมล เลิศวีระศิริกุล

  • 978-974-88167-3-8

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
    กระทรวงศึกษาธิการ
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
    สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 45

  • กรุงเทพฯ

  • 30 ม.ค. - 2 ก.พ. 2550

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 129-134

  • 828 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • Q03-การปนเปื้อนอาหาร

  • Dimocarpus longan;พิษตกค้าง;ไซเพอร์เมทริน;ระดับปริมาณสารตกค้างไม่เกินค่าปลอดภัย;การวิเคราะห์ปริมาณ

  • Dimocarpus longan;Residues;Cypermethrin;Maximum residue limits;Quantitative analysis

  • ลำไย;สารพิษตกค้าง;ไซเปอร์เมทริน;ค่าปริมาณสูงสุด;การวิเคราะห์ปริมาณ

  • ศึกษาการสลายตัวของสารพิษตกค้างไซเปอร์เมทรินในลำไย โดยทำการทดลอง 6 ครั้งวางแผนการทดลองแบบพิเศษแบ่งเป็น 2 การทดลองย่อยคือ แปลงควบคุม และแปลงทดลองที่พ่นผลิตภัณฑ์ นูเรลล์-ดี505 อัตราตามคำแนะนำของฉลาก แต่ละการทดลองได้พ่นสาร 4 ครั้งทุก 7 วัน หลังการพ่นครั้งสุดท้ายจึงเก็บตัวอย่างลำไยมาวิเคราะห์ที่ระยะเวลา 0, 1, 3, 5, 7, 10, 14 และ 21 วันรวม 8 ครั้ง ผลการวิเคราะห์พบว่า การทดลองที่ 1 พบสารพิษตกค้างไซเปอร์เมทรินในปริมาณ 1.71, 1.48, 1.03, 0.97, 0.50 และ 0.33 มก./กก. ครั้งที่ 2 พบในปริมาณ 2.07, 1.68, 1.49, 1.10, 0.54 และ 0.39 มก./กก. ครั้งที่ 3 พบในปริมาณ 1.72, 1.42, 1.14, 0.92, 0.74, 0.58 และ 0.37 มก./กก. และในครั้งที่ 4 พบในปริมาณ 1.60, 1.31, 1.00, 0.66, 0.40, 0.31 และ 0.16 มก./กก. ตามลำดับ ในการทดลองครั้งที่ 5 พบในปริมาณ 1.08, 0.41, 0.29 และ 0.14 มก./กก. ที่ระยะเวลา 0, 10, 14 และ 22 วันตามลำดับ ในการทดลองครั้งที่ 6 พบในปริมาณ 1.18, 0.59, 0.42, 0.30 และ 0.29 มก./กก. ที่ระยะเวลา 0, 10, 14, 22 และ 30 วันตามลำดับและคำนวณระยะปลอดภัยก่อนเก็บเกี่ยวได้เท่ากับ 13 วัน

  • Longan is one of the major export fruits of Thailand. Cypermethrin is one among various pesticides recommended by the Department of Agriculture to use for longan pest control. Therefore, the study on the fate of cypermethrin in longan was conducted. Each experiment comprised of control plot and cypermethrin recommended application plot (30 ml/20 liter water). Cypermethrin formulated product named Nurelle-D505 was applied weekly for 4 times. The longan fruit were collected at day(s) 0, 1, 3, 5, 7, 10, 14 and 21 after last application and analyzed for its residue by gas chromatograph. In the recommended application plot, the residue were 1.71, 1.15, 1.13, 1.00, 0.47 and 0.40 mg/kg for the trial 1 and 2.07, 1.89, 1.68, 1.58, 1.33 and 0.99 mg/kg for trial 2 and 1.72, 1.42, 1.14, 0.92, 0.74, 0.58 and 0.37 mg/kg for trial 3 and 1.60, 1.31, 1.00, 0.66, 0.40, 0.31 and 0.16 mg/kg for trial 4 on day(s) 0, 1, 3, 5, 7, 10, 14 and 21 respectively. The cypermethrin residue were 1.08, 0.41, 0.29 and 0.14 mg/kg for trial 5 and 1.18, 0.59, 0.42, 0.30 and 0.29 mg/kg on day(s) 0, 10, 14, 22 and 30 respectively whereas none was detected in the control plot. The Pre-Harvest Interval for the cypermethrin in Longan is 13 days.

  • [1] ประชาธิปัตย์ พงษ์ภิญโญ (กรมวิชาการเกษตร สำนักวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร)
    [2] วิษณุ แจ้งใบ (กรมวิชาการเกษตร สำนักวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร)
    [3] ศิริพันธ์ สุขมาก (กรมวิชาการเกษตร สำนักวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร)
    [4] สมสมัย ปาลกูล (กรมวิชาการเกษตร สำนักวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร)
    [5] สุวิมล เลิศวีระศิริกุล (กรมวิชาการเกษตร สำนักวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร)

  • [1] Prachathipat Pongpinyo (Department of Agriculture, Bangkok (Thailand). Agricultural Production Science Research and Development Office)
    [2] Wisanu Jangbai (Department of Agriculture, Bangkok (Thailand). Agricultural Production Science Research and Development Office)
    [3] Siriphan Sukmak (Department of Agriculture, Bangkok (Thailand). Agricultural Production Science Research and Development Office)
    [4] Somsamai Palakul (Department of Agriculture, Bangkok (Thailand). Agricultural Production Science Research and Development Office)
    [5] Suwimol Lerdweerasirikul (Department of Agriculture, Bangkok (Thailand). Agricultural Production Science Research and Development Office)

685 393

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

ประชาธิปัตย์ พงษ์ภิญโญ และคนอื่นๆ. (2550).
           วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างไซเปอร์เมทรินในลำไยเพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.


ประชาธิปัตย์ พงษ์ภิญโญ และคนอื่นๆ.
           "วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างไซเปอร์เมทรินในลำไยเพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
           2550.

ประชาธิปัตย์ พงษ์ภิญโญ และคนอื่นๆ. (2550).
           วิจัยปริมาณสารพิษตกค้างไซเปอร์เมทรินในลำไยเพื่อกำหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้าง.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.