Creative Commons License
  • การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชาวบ้านในการฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่ง ขององค์กรพัฒนาเอกชน กรณี โครงการอันดามัน

  • Encouragement of local people's participation in coastal rehabilitation through non-government organizations: a case study in Andaman project

  • เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 45: สาขาส่งเสริมการเกษตรและคหกรรมศาสตร์ สาขาอุตสาหกรรมเกษตร

  • Proceedings of 45th Kasetsart University Annual Conference: Agricultural Extension and Home Economics, Agro-Industry

  • 45

  • สาขาส่งเสริมการเกษตร

  • 2550

  • บำเพ็ญ เขียวหวาน

  • 978-974-88167-3-8

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
    กระทรวงศึกษาธิการ
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
    สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 45

  • กรุงเทพฯ

  • 30 ม.ค. - 2 ก.พ. 2550

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 101-110

  • 828 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • C20-การส่งเสริม

  • P01-การอนุรักษ์ธรรมชาติ/ที่ดิน

  • E50-ชนบท

  • Rural population;Coastal area;Natural resources;Resource management;Extension activities;Participation;Nongovernmental organizations;Thailand

  • ชาวบ้าน;ทรัพยากรชายฝั่ง;การฟื้นฟู;การจัดการ;การส่งเสริม;การมีส่วนร่วม;ผลกระทบ;องค์กรพัฒนาเอกชน;โครงการอันดามัน

  • วัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษา สถานการณ์ ปัจจัย ปัญหา และแนวทางการจัดการทรัพยากรชายฝั่ง ศึกษายุทธศาสตร์ ขั้นตอน วิธีการ บทบาท และปัญหาขององค์กรพัฒนาเอกชนในการส่งเสริม พัฒนาการ ปัจจัย ที่มีผลต่อการดำเนินงานขององค์กรชาวบ้าน ปัจจัยทั้งในระดับบุคคล กลุ่ม และชุมชน ที่มีผลต่อการมีส่วนร่วม และวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการมีส่วนร่วมของชาวบ้าน วิธีศึกษา ใช้การผสมผสานทั้งวิธีการเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ รวมถึงการปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม จากการศึกษาพบว่า ยุทธศาสตร์การดำเนินงานของชุมชน ได้แก่ ร่วมตรวจการณ์ จับกุมผู้กระทำผิด รวมกลุ่มชาวประมงพื้นบ้านและสร้างเครือข่ายชาวประมง รณรงค์ ประท้วง กดดัน และกระตุ้นภาครัฐแก้ปัญหา ตั้งกองทุน ผลักดันเชิงนโยบายและเสนอกฎหมาย ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการทรัพยากร มีปัจจัยภายในชุมชนทั้ง ระดับครอบครัว ชุมชน กลุ่มและเครือข่าย ปัจจัยภายนอก เช่น รัฐ กระแสสังคม องค์กรพัฒนาเอกชน แนวทางการแก้ไขปัญหาการจัดการทรัพยากร แบ่งเป็นหลายปัจจัย ตั้งแต่ระดับปรากฏการณ์ รูปแบบ โครงสร้าง แม้วิธีคิดและจิตสำนึก ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน ขององค์กรพัฒนาเอกชนเน้นเสริมสร้างความเข้มแข็งขององค์กรชาวบ้านและเครือข่าย ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ โดยมีขั้นตอนและวิธีการทำงานแบบมีส่วนร่วมในทุกขั้นตอน สำหรับบทบาทของนักพัฒนาองค์กรเอกชน ได้แก่ ผู้จุดประกาย เป็นนักสร้างกระบวนการเรียนรู้ เป็นผู้สร้างการเชื่อมโยง ส่วนปัญหาในการดำเนินงานมีปัญหาที่เกิดขึ้นทั้งในด้านปัจจัยนำเข้า กระบวนการทำงาน ผลผลิต และผลกระทบ สำหรับเหตุผลของการเข้ามามีส่วนร่วมและไม่เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรชายฝั่งของชาวบ้าน มีทั้งเหตุผล ด้านตัวชาวบ้านเอง ด้านองค์กรชาวบ้าน และด้านองค์กรพัฒนาเอกชน ปัจจัยที่มีผลต่อการทำงานขององค์กรชาวบ้านมีในทุกขั้นตอน ตั้งแต่การเตรียมการ ก่อตั้งองค์กร ดำเนินการ จนถึงการขยายตัว มีทั้งปัจจัยภายในและภายนอกองค์กร สำหรับปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมของชาวบ้าน ได้แก่ บุคคล องค์กร งานจัดการ ปัจจัยทั่วไปในการจัดการ ผลกระทบจากการมีส่วนร่วมของชาวบ้านในการจัดการทรัพยากรชายฝั่ง มีทั้งผลกระทบทางด้านบวกและลบที่เกิดต่อระดับบุคคล องค์กร ชุมชนและสังคม ระดับทรัพยากรชายฝั่ง

  • Objectives of this study were to identify and evaluate NGOs' roles, strategies and methods to encourage participation of local people in coastal resource rehabilitation, to identify and evaluate factors of individual villagers, villagers' organizations and communities which affected people's participation, whether facilitating or inhibiting, and an analysis of the impact on such participation, and subsequent success. The strategies used in villagers' coastal resource management were coast patrols and arrests of wrongdoers, villages' group formation and group networking development, protests against resource deterioration, mobilization and encouragement of tasks performed by the government agencies, replication of activities to establish funds for the groups' and the communities' project implementations, and mobilization of policy-making at the top level, besides law improvement. Factors affecting coastal resource management were categorized into 2 groups: in-community factors and out-community factors. For solving the problem of coastal resource management, 4 levels of problem-solving should be worked out: phenomenon, pattern of management, structural and consciousness levels. The study on strategic developments, working steps, roles and problems in working for promotion of coastal resource management of NGOs indicated that NGOs working in the target villages originated from groups formed by activists, government officers and local people since 1994. The organization has always adjusted itself and improved its working directions on the principal strategy of developing strength of people's organizations and their networks. Concerning to the role of NGOs, it was found that NGO agents promoted people's participation in resource management. They ignited frames of thinking as psychologists, active learning facilitators, consultants, coordinators, marketing linkage promoters, organization managers, planners and evaluers, synthesis analysts, researchers and bargainers. In studying people's participation in coastal resource management, it was found that reasons of participation were based on personal reasons of the villages themselves, reasons of people's organizations and reasons of NGOs. The study on impact of people's participation in coastal resource management pointed out negative and positive effects by which the negative effects influenced the individual, the organizational level and the community level.

  • [1] บำเพ็ญ เขียวหวาน (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์)

  • [1] Bumpen Keowan (Sukhothai Thammathirat Open University, Nonthaburi (Thailand). School of Agricultural Extension and Cooperatives)

288 186

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

บำเพ็ญ เขียวหวาน. (2550). การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชาวบ้านในการฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่ง ขององค์กรพัฒนาเอกชน
           กรณี โครงการอันดามัน
.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.


บำเพ็ญ เขียวหวาน. "การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชาวบ้านในการฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่ง ขององค์กรพัฒนาเอกชน กรณี
           โครงการอันดามัน".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
           2550.

บำเพ็ญ เขียวหวาน. (2550). การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชาวบ้านในการฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่ง ขององค์กรพัฒนาเอกชน
           กรณี โครงการอันดามัน
.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.