Creative Commons License
  • ผลการบำบัดขี้เลนจากการเพาะเลี้ยงกุ้งกุลาดำ 4 วิธีที่แตกต่างกันต่อปริมาณแบคทีเรียกลุ่มที่ใช้ออกซิเจนแบคทีเรียแกรมลบ และ Vibrio

  • Effect of organic sludge from black tiger shrimp pond treated with four different treatments on the changes in total aerobic bacteria, Gram-negative bacteria and Vibrio

  • เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 45: สาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ สาขาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

  • Proceedings of 45th Kasetsart University Annual Conference: Architecture and Engineering and Natural Resources and Environment

  • 45

  • สาขาทรัพยากรธรรมชาติ

  • 2550

  • สุนิสา สุขสวัสดิ์
    วีรพงศ์ วุฒิพันธุ์ชัย
    สุบัณฑิต นิ่มรัตน์

  • 978-974-537-999-2

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
    กระทรวงศึกษาธิการ
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
    สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 45

  • กรุงเทพฯ

  • 30 ม.ค. - 2 ก.พ. 2550

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 776-783

  • 902 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • M12-การเพาะเลี้ยง

  • Penaeus monodon;การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ;การได้รับแสง;วัสดุปูน;การจัดการของเสีย;แบคทีเรีย;แบคทีเรียแกรมลบ;Vibrio

  • Penaeus monodon;Aquaculture;Insolation;Liming materials;Waste management;Bacteria;Gram negative bacteria;Vibrio

  • ขี้เลน;การตากแดด;ปูนขาว;การบำบัดขี้เลน;การเพาะเลี้ยงกุ้งกุลาดำ;แบคทีเรียกลุ่มที่ใช้ออกซิเจน;แบคทีเรียแกรมลบ

  • Organic sludge;Vibrio spp.

  • การบำบัดขี้เลนจากบ่อกุ้งโดยเปรียบเทียบวิธีการบำบัด 4 วิธี ได้แก่ (1) การตากแดด (2) การตากแดดร่วมกับการพลิกเลน (3) การตากแดดร่วมกับการพลิกเลนและการโรยปูนขาว และ (4) การตากแดดร่วมกับการ โรยปูนขาว โดยทำการทดลองเป็นระยะเวลา 15 วัน พบว่าปริมาณแบคทีเรียกลุ่มที่ใช้ออกซิเจนมีแนวโน้ม เพิ่มขึ้นในบ่อ 1, 2 และ 4 เท่ากับ 6.65+-1.77*10**(6), 10.63+-1.14*10**(6) และ 9.1+-4.10*10**(6) CFU/g ตาม ลำดับ แต่ลดลงในบ่อ 3 เท่ากับ 4.45+-1.49*10**(6) CFU/g ในวันที่ 15 ของการทดลอง ปริมาณของแบคทีเรียแกรม ลบมีแนวโน้มลดลงในทุกบ่อที่ทำการบำบัด เท่ากับ 0.52+-0.08*10**(4), 0.7+-0.09*10**(4), 0.47+-0.04*10**(4) และ 0.3+-0.08*10**(4) CFU/g และทุกวิธีการบำบัดสามารถลดปริมาณแบคทีเรียกลุ่ม Vibrio spp. โดยในวันที่ 6 ของการ ทดลองตรวจไม่พบ Vibrio spp. และเมื่อนำมาวิเคราะห์ผลทางสถิติพบว่าไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติ (p มากกว่า 0.05) และจากการจำแนกชนิดของแบคทีเรียกลุ่ม Vibrio spp. พบว่า V. parahaemolyticus เป็น สปีชีย์เดียวที่พบในการทดลองในครั้งนี้ ดังนั้นจากผลการศึกษาสามารถสรุปได้ว่าการบำบัดทั้ง 4 กระบวนการมีผลต่อ ปริมาณแบคทีเรียกลุ่มที่ใช้ออกซิเจน แบคทีเรียแกมลบและแบคทีเรียกลุ่ม Vibrio spp. ที่ไม่แตกต่างกันมากนักจึงทำให้ การบำบัดด้วยวิธีการตากแดดเป็นวิธีการบำบัดที่เหมาะสมที่สุดสำหรับการบำบัดขี้เลนพื้นบ่อเนื่องจากเป็นวิธีที่ ประหยัดและสามารถลดปริมาณแบคทีเรียแกรมลบและแบคทีเรีย กลุ่ม Vibrio spp. ซึ่งเป็นแบคทีเรียที่ก่อโรคในการ เพาะเลี้ยงกุ้งกุลาดำ

  • Four organic sludge treatments (treatment 1: drying with the sunlight, treatment 2: drying with the sunlight and sediment rotation, treatment 3: drying with the sunlight and the addition of lime with sediment rotationtreatment 4: drying with the sunlight and the addition of lime) of shrimp pond sediments were tested during the 15 days of experiment. Results showed that total aerobic heterotrophic bacteria slightly increased in treatment 1, 2 and 4, ranging from 6.65+-1.77*10**(6), 10.63+-1.14*10**(6) and 9.1+-4.10*10**(6) CFU/g, respectively, while total aerobic bacteria (TAB) in treatment 3 decreased to 4.45+-1.49*10**(6) CFU/g at day15 of the experiment. However, all treatments were capable of Gram-negative bacteria (GNB) counts reduction which were 0.52+-0.08*10**(4), 0.7+-0.09*10**(4), 0.47+-0.04*10**(4) and 0.3+-0.08*10**(4) CFU/g, respectively at the end of the experiment. Those treatments also showed the effective in controlling Vibrio and there was no detectable Vibrio in tested organic sludges at day 6 of the experiment. V. parahaemolyticus was the only Vibrio found in this study. Results concluded that all treatments showed slightly different in terms of TAB, GNB and Vibrio change within tested organic sludges, therefore, drying only (Treatment 1) was the most suitable treatment for organic sludge treatment based on potential pathogenic GNB and Vibrio reduction and cost effective.

  • [1] สุนิสา สุขสวัสดิ์ (มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาจุลชีววิทยา)
    [2] วีรพงศ์ วุฒิพันธุ์ชัย (มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิทยาศาสตร์ภาควิชาวาริชศาสตร์)
    [3] สุบัณฑิต นิ่มรัตน์ (มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาจุลชีววิทยาและโครงการวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม)

  • [1] Sunisa Suksawat (Burapha University, Chonburi (Thailand). Faculty of Science. Department of Microbiology)
    [2] Verapong Vuthiphandchai (Burapha University, Chonburi (Thailand). Faculty of Science. Department of Aquatic Science)
    [3] Subuntith Nimrat (Burapha University, Chonburi (Thailand). Faculty of Science. Department of Microbiology and Environmental Science Program)

223 186

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

สุนิสา สุขสวัสดิ์. (2550). ผลการบำบัดขี้เลนจากการเพาะเลี้ยงกุ้งกุลาดำ 4
           วิธีที่แตกต่างกันต่อปริมาณแบคทีเรียกลุ่มที่ใช้ออกซิเจนแบคทีเรียแกรมลบ และ Vibrio
.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.


สุนิสา สุขสวัสดิ์. "ผลการบำบัดขี้เลนจากการเพาะเลี้ยงกุ้งกุลาดำ 4
           วิธีที่แตกต่างกันต่อปริมาณแบคทีเรียกลุ่มที่ใช้ออกซิเจนแบคทีเรียแกรมลบ และ Vibrio".  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
           2550.

สุนิสา สุขสวัสดิ์. (2550). ผลการบำบัดขี้เลนจากการเพาะเลี้ยงกุ้งกุลาดำ 4
           วิธีที่แตกต่างกันต่อปริมาณแบคทีเรียกลุ่มที่ใช้ออกซิเจนแบคทีเรียแกรมลบ และ Vibrio
.  กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.