Creative Commons License
  • การใช้ระบบกรองชีวภาพแบบมีน้ำหล่อในการบำบัดอากาศเสียจากโรงงานไฟฟ้า

  • Biotrickling filtration for treatment of pollutants from power plant waste gases

  • เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 45: สาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ สาขาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

  • Proceedings of 45th Kasetsart University Annual Conference: Architecture and Engineering and Natural Resources and Environment

  • 45

  • สาขาทรัพยากรธรรมชาติ

  • 2550

  • สิริวัฒน์ จินศิริวานิชย์

  • 978-974-537-999-2

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
    กระทรวงศึกษาธิการ
    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
    สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
    สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

  • การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 45

  • กรุงเทพฯ

  • 30 ม.ค. - 2 ก.พ. 2550

  • กรุงเทพฯ

  • หน้า 763-767

  • 902 หน้า

  • ไทย

  • Thai National AGRIS Centre, Office of The University Library Kasetsart University, P.O. BOX 1084 Kasetsart Chatuchak, Bangkok 10903, Thailand

  • T01-มลพิษ

  • การกรอง;การจัดการของเสีย;อากาศ;การควบคุมมลพิษ;ไนตริคออกไซด์;ประสิทธิภาพ;จุลินทรีย์

  • Filtration;Waste management;Air;Pollution control;Nitric oxide;Efficiency;Microorganisms

  • ระบบกรองชีวภาพ;การบำบัดอากาศเสีย;โรงงานไฟฟ้า;ก๊าซไนตริกออกไซด์;ประสิทธิภาพ;ปริมาณจุลินทรีย์

  • Biotrickling filtration;Waste gases

  • การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าระบบกรองชีวภาพแบบมีน้ำหล่อสามารถนำไปใช้ในการบำบัดก๊าซไนตริกออกไซด์จากโรงงานไฟฟ้าได้โดยใช้ โซเดียมไทโอซัลเฟตเป็นแหล่งพลังงาน ประสิทธิภาพการบำบัดจะเพิ่มขึ้นจาก 30 เปอร์เซ็นต์ ในวันแรกเป็นมากกว่า 95 เปอร์เซ็นต์ ในวันที่ 3 ของการทดลอง ซึ่งการเพิ่มขึ้นของประสิทธิภาพจะเนื่องมาจากปริมาณจุลินทรีย์ที่เจริญเติบโตเพิ่มขึ้นจากวันแรกจะสามารถใช้ไนตริกออกไซด์ในปริมาณที่มากขึ้น อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาอิทธิพลของระยะเวลากักเก็บเมื่อเบดบรรจุว่างต่อประสิทธิภาพการบำบัดจะพบว่า เมื่อระยะเวลาลดลง ประสิทธิภาพจะลดลงด้วย ซึ่งอาจจะเนื่องมาจากระยะเวลาไม่เพียงพอต่อการถ่ายเทมวลสาร ระหว่างอากาศและจุลินทรีย์ และการย่อยสลายไนตริกออกไซด์ของจุลินทรีย์เอง

  • This study showed the potential of using biotrickling filter for treatment of nitric oxide (NO) from power plant waste gases. The removal efficiency increased from 30 percent in the first day of operation to more than 95 percent percent on the third day. The increment of removal efficient may be involved in the increase of microbiology population which required more nitric oxide. However the removal efficiency was affected by the empty bed residence time (EBRT) of the gas stream. The reduced EBRT may not only be sufficient for proper mass transfer between microorganisms and air but also for microbial biodegradation.

  • [1] สิริวัฒน์ จินศิริวานิชย์ (มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะเทคโนโลยี ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ)

  • [1] Siriwat Jinsiriwanit (Khon Kaen University, Khon Kaen (Thailand). Faculty of Technology. Department of biotechnology)

219 169

ไฟล์ดิจิทัล

Export

  ค้นเพิ่มเติม

สิริวัฒน์ จินศิริวานิชย์. (2550). การใช้ระบบกรองชีวภาพแบบมีน้ำหล่อในการบำบัดอากาศเสียจากโรงงานไฟฟ้า
           กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.


สิริวัฒน์ จินศิริวานิชย์. "การใช้ระบบกรองชีวภาพแบบมีน้ำหล่อในการบำบัดอากาศเสียจากโรงงานไฟฟ้า". 
           กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.
           2550.

สิริวัฒน์ จินศิริวานิชย์. (2550). การใช้ระบบกรองชีวภาพแบบมีน้ำหล่อในการบำบัดอากาศเสียจากโรงงานไฟฟ้า
           กรุงเทพฯ:
           มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
.